กรดไนตริก

กรดไนตริก
Resonance description of the bonding in the nitric acid molecule
Ball-and-stick model of nitric acid
Ball-and-stick model of nitric acid
Resonance space-filling model of nitric acid
Resonance space-filling model of nitric acid
ชื่อ
IUPAC name
Nitric acid
ชื่ออื่น
  • Aqua fortis
  • Spirit of niter
  • Eau forte
  • Hydrogen nitrate
  • Acidum nitricum
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3DMet
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.028.832 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 231-714-2
Gmelin Reference
1576
KEGG
MeSH Nitric+acid
RTECS number
  • QU5775000
UNII
UN number 2031
CompTox Dashboard (EPA)
InChI
  • InChI=1S/HNO3/c2-1(3)4/h(H,2,3,4) checkY
    Key: GRYLNZFGIOXLOG-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/HNO3/c2-1(3)4/h(H,2,3,4)
    Key: GRYLNZFGIOXLOG-UHFFFAOYAO
SMILES
  • [N+](=O)(O)[O-]
  • ON(=O)=O
คุณสมบัติ
HNO3
มวลโมเลกุล 63.012 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ Colorless liquid[1]
กลิ่น Acrid, suffocating[1]
ความหนาแน่น 1.51 g/cm3, 1.41 g/cm3 [68% w/w]
จุดหลอมเหลว −42 องศาเซลเซียส (−44 องศาฟาเรนไฮต์; 231 เคลวิน)
จุดเดือด 83 องศาเซลเซียส (181 องศาฟาเรนไฮต์; 356 เคลวิน) 68% solution boils at 121 องศาเซลเซียส (250 องศาฟาเรนไฮต์; 394 เคลวิน)
ผสมกันได้
log P −0.13[2]
ความดันไอ 48 mmHg (20 °C)[1]
pKa −1.4[3]
เบส ไนเตรต
Magnetic susceptibility (χ)
−1.99×10−5 cm3/mol
1.397 (16.5 °C)
Dipole moment
2.17 ± 0.02 D
อุณหเคมี
Std molarentropy (S298)
146 J/(mol·K)[4]
Std enthalpy offormation fH298)
−207 kJ/mol[4]
ความอันตราย
GHS labelling:
Pictograms
GHS03: Oxidizing The corrosion pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
Signal word
อันตราย
Hazard statements
H272, H300, H310, H330, H373, H411
Precautionary statements
P210, P220, P260, P305+P351+P338, P310, P370+P378
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ ไม่ติดไฟ
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
LC50 (median concentration)
138 ppm (rat, 30 min)[1]
NIOSH (US health exposure limits):
PEL (Permissible)
TWA 2 ppm (5 mg/m3)[1]
REL (Recommended)
TWA 2 ppm (5 mg/m3)
ST 4 ppm (10 mg/m3)[1]
IDLH (Immediate danger)
25 ppm[1]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 0183
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
กรดไนตรัส
แคทไอออนอื่น ๆ
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

กรดไนตริก หรือ กรดดินประสิว (อังกฤษ: Nitric acid) เป็นกรดที่มีอันตราย หากสัมผัสจะทำให้เกิดแผลไหม้ขั้นรุนแรง กรดไนตริกนี้ ค้นพบโดยการสังเคราะห์ โดย "Muslim alchemist Jabir ibn Hayyan" ประมาณ ค.ศ. 800 กรดไนตริกบริสุทธ์ 100% (ปราศจากน้ำ) จะเป็นของเหลวที่มีความหนาแน่น 1,552 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร และจะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิ -42 °C ลูกบาศก์ โดยจะเป็นผลึกสีขาว และจะเดือดที่อุณหภูมิ 83 °C แต่ก็สามารถเดือดในที่ ที่มีแสงสว่าง ทั้ง ๆ ที่อยู่ในอุณหภูมิห้อง[6]

สารประกอบเคมีในกรดไนตริก (HNO3) , หรือ อควา ฟอร์ติส (aqua fortis) หรือ สปิริต ออฟ ไนเตอร์ (spirit of nitre) เป็นของเหลวที่กัดกร่อนและไม่มีสี เป็นกรดที่มีพิษที่สามารถทำให้เกิดแผลไฟไหม้อย่างรุนแรง สารละลายที่มีกรดไนตริกมากกว่า 86% เรียกว่า fuming nitric acid และสามารถกัดกร่อนโลหะมีตระกูล ได้ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ ขาว (white fuming nitric acid) และแดง (red fuming nitric acid)

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0447". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. "nitric acid_msds".
  3. Bell, R. P. (1973), The Proton in Chemistry (2nd ed.), Ithaca, NY: Cornell University Press
  4. 4.0 4.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A22. ISBN 978-0-618-94690-7.
  5. "Safety Data Sheet" (PDF). fishersci.com. Fisher Scientific International. 23 March 2015. p. 2. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2022. สืบค้นเมื่อ 4 October 2022.
  6. "กรดไนตริก (Nitric acid) หรือกรดดินประสิว". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-28. สืบค้นเมื่อ 2014-04-08.

แหล่งข้อมูลอื่น