งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82
วันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2010
สถานที่ โกดักเธียเตอร์
ฮอลลีวู้ด
พิธีกร สตีฟ มาร์ติน
อเล็ก บอลด์วิน
ภาพยนตร์ที่น่าสนใจ
ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม The Hurt Locker
ได้รางวัลมากที่สุด The Hurt Locker (6)
เข้าชิงมากที่สุด Avatar (9)
The Hurt Locker (9)
สถานีโทรทัศน์ที่แพร่ภาพออกอากาศ
ช่อง สหรัฐ ABC
ไทย ทรูอินไซด์
 < ครั้งที่ 81 รางวัลออสการ์ ครั้งที่ 83 > 

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปีค.ศ. 2009 จัดขึ้นในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2010 ในโกดักเธียเตอร์ ฮอลีวูด แคลิฟอเนีย และจะออกอากาศทางโทรทัศน์ช่อง ABC และถ่ายทอดสดไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย (ถ่ายทอดสดทางช่อง ทรูอินไซด์) เหตุที่งานครั้งนี้จัดช้ากว่าปีที่ผ่านมาที่จัดในวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ (ตามเวลาท้องถิ่น) เนื่องจากมีการจัดการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูหนาว ที่ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 12-28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 [ต้องการอ้างอิง]

กำหนดการ

ประกาศเมื่อวันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 2009[1]

วันที่ กำหนดการ
1 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ส่ง Screen Credits forms วันสุดท้าย
28 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ส่งใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้เข้าชิงรางวัลให้กับสมาชิก
23 มกราคม ค.ศ. 2010 ปิดรับใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้เข้าชิงรางวัลที่เวลา 17 นาฬิกา PST (7 นาฬิกา ตามเวลาในประเทศไทย)
2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 ประกาศผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ เวลา 5 นาฬิกา 38 นาที PST (20 นาฬิกา 38 นาที ตามเวลาในประเทศไทย) ที่โรงละครซามูเอล โกลด์วิน
10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 ส่งใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้ได้รับรางวัลให้กับสมาชิก
15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 งานเลี้ยงอาหารกลางวันสำหรับผู้ได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลออสการ์
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 งานประกาศผลรางวัลความสำเร็จทางเทคนิคและวิทยาศาสตร์
2 มีนาคม ค.ศ. 2010 ปิดรับใบลงคะแนนเสียงเลือกผู้ได้รับรางวัล ที่เวลา 17 นาฬิกา PST (7 นาฬิกา ตามเวลาในประเทศไทย)
7 มีนาคม ค.ศ. 2010 งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 82

ผู้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัล

รางวัลสำคัญ

ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
  • The Hurt Locker (หน่วยระห่ำปลดล็อกระเบิดโลก)
    • Avatar (อวตาร)
    • The Blind Side
    • District 9 (ยึดแผ่นดิน เปลี่ยนพันธุ์มนุษย์)
    • An Education (ปริญญารักไม่มีวันเรียนจบ)
    • Inglourious Basterds (ยุทธการเดือดเชือดนาซี)
    • Precious: Based on the Novel "Push" by Sapphire (พรีเซียส)
    • A Serious Man (เฮ้อ...โลกมันเครียด ขอซีเรียสซะให้เข็ด)
    • Up (ปู่ซ่าบ้าพลัง)
    • Up in the Air (หนุ่มโสด หัวใจโดดเดี่ยว)
นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม
นักแสดงสนับสนุนชายยอดเยี่ยม นักแสดงสนับสนุนหญิงยอดเยี่ยม
บทภาพยนตร์ดั้งเดิมยอดเยี่ยม บทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม
  • The Hurt Locker – Mark Boal
    • Inglourious Basterds – Quentin Tarantino
    • The Messenger – Alessandro Camon and Oren Moverman
    • A Serious Man – Joel Coen and Ethan Coen
    • Up – Tom McCarthy, Bob Peterson and Pete Docter
  • Precious: Based on the Novel "Push" by Sapphire – Geoffrey Fletcher
    • District 9 – Neill Blomkamp and Terri Tatchell
    • An Education – Nick Hornby
    • In the Loop – Jesse Armstrong, Simon Blackwell, Armando Ianucci and Tony Roche
    • Up in the Air – Jason Reitman and Sheldon Turner
ภาพยนตร์แอนิเมชันยอดเยี่ยม ภาพยนตร์ภาษาต่างประเทศยอดเยี่ยม
  • 'El Secreto de Sus Ojos' (Argentina) in Spanish – Juan José Campanella
    • Ajami (Israel) in Arabic and Hebrew – Scandar Copti and Yaron Shani
    • The Milk of Sorrow (Peru) in Spanish and Quechua – Claudia Llosa
    • Un Prophète (France) in French, Corsican and Arabic – Jacques Audiard
    • The White Ribbon (Germany) in German – Michael Haneke

รางวัลอื่นๆ

ภาพยนตร์สารคดียอดเยี่ยม ภาพยนตร์สารคดีขนาดสั้นยอดเยี่ยม
  • The Cove – Louie Psihoyos and Fisher Stevens
    • Burma VJ – Anders Østergaard and Lise Lense-Møller
    • Food, Inc. – Robert Kenner and Elise Pearlstein
    • The Most Dangerous Man in America: Daniel Ellsberg and the Pentagon Papers – Judith Ehrlich and Rick Goldsmith
    • Which Way Home – Rebecca Cammisa
  • Music by Prudence – Roger Ross Williams and Elinor Burkett
    • China’s Unnatural Disaster: The Tears of Sichuan Province – Jon Alpert and Matthew O'Neill
    • The Last Campaign of Governor Booth Gardner – Daniel Junge and Henry Ansbacher
    • The Last Truck: Closing of a GM Plant – Steven Bognar and Julia Reichert
    • Rabbit à la Berlin – Bartek Konopka and Anna Wydra
ภาพยนตร์เหตุการณ์สั้นยอดเยี่ยม ภาพยนตร์แอนิเมชันสั้นยอดเยี่ยม
  • The New Tenants – Joachim Back and Tivi Magnusson
    • The Door – Juanita Wilson and James Flynn
    • Instead of Abracadabra – Patrik Eklund and Mathias Fjellström
    • Kavi – Gregg Helvey
    • Miracle Fish – Luke Doolan and Drew Bailey
  • Logorama – Nicolas Schmerkin
    • French Roast – Fabrice O. Joubert
    • Granny O'Grimm's Sleeping Beauty – Nicky Phelan and Darragh O’Connell
    • The Lady and the Reaper (La Dama y la Muerte)  – Javier Recio Gracia
    • A Matter of Loaf and Death – Nick Park
ดนตรีประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
  • "The Weary Kind" from Crazy Heart – Ryan Bingham and T-Bone Burnett
ลำดับเสียงยอดเยี่ยม บันทึกเสียงยอดเยี่ยม
กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม กำกับภาพยอดเยี่ยม
  • Avatar – Art Direction: Rick Carter and Robert Stromberg; Set Decoration: Kim Sinclair
    • The Imaginarium of Dr. Parnassus – Art Direction: Dave Warren and Anastasia Masaro; Set Decoration: Caroline Smith
    • Nine – Art Direction: John Myhre; Set Decoration: Gordon Sim
    • Sherlock Holmes – Art Direction: Sarah Greenwood; Set Decoration: Katie Spencer
    • The Young Victoria – Art Direction: Patrice Vermette; Set Decoration: Maggie Gray
แต่งหน้ายอดเยี่ยม ออกแบบเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม
  • Star Trek – Barney Burman, Mindy Hall and Joel Harlow
    • Il Divo – Aldo Signoretti and Vittorio Sodano
    • The Young Victoria – Jon Henry Gordon and Jenny Shircore
  • The Young Victoria – Sandy Powell
    • Bright Star – Janet Patterson
    • Coco Before Chanel – Catherine Leterrier
    • The Imaginarium of Dr. Parnassus – Monique Prudhomme
    • Nine – Colleen Atwood
ตัดต่อภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เทคนิคสมจริงยอดเยี่ยม
  • Avatar – Joe Letteri, Stephen Rosenbaum, Richard Baneham and Andrew R. Jones
    • District 9 – Dan Kaufman, Peter Muyzers, Robert Habros, and Matt Aitken
    • Star Trek – Roger Guyett, Russell Earl, Paul Kavanagh and Burt Dalton

Honorary Academy Awards

  • Gordon Willis

(already distributed)

ภาพยนตร์ที่เข้าชิงมากที่สุด

The following films received multiple nominations.

  • 9 สาขา: Avatar และ The Hurt Locker
  • 8 สาขา: Inglourious Basterds
  • 6 สาขา: Precious: Based on the Novel "Push" by Sapphire และ Up in the Air
  • 5 สาขา: Up
  • 4 สาขา: District 9, Nine และ Star Trek
  • 3 สาขา: An Education, Crazy Heart, The Princess and the Frog และ The Young Victoria
  • 2 สาขา: A Serious Man, The Blind Side, Fantastic Mr. Fox, Invictus, The Imaginarium of Dr. Parnassus, The Last Station, The Messenger, Sherlock Holmes และ The White Ribbon

อ้างอิง

  1. "Key Dates Announced for the 8nd Academy Awards". Academy of Motion Picture Arts and Sciences. 25 March 2009. สืบค้นเมื่อ 2009-03-27.