ภาษาโควาร์

ภาษาโควาร์
کھووار
โควาร์ในอักษรโควาร์ที่เขียนด้วยแบบแนสแทอ์ลีก
ประเทศที่มีการพูดประเทศปากีสถาน
ภูมิภาคอำเภอชิตรัล
ชาติพันธุ์Kho
จำนวนผู้พูด290,000  (2004)[1]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรโควาร์ (ในแบบแนสแทอ์ลีก)
รหัสภาษา
ISO 639-3khw
Linguasphere59-AAB-aa
ภาษาโควาร์เป็นภาษาชนกลุ่มน้อยใปากีสถาน ซึ่งมีผู้พูดหลักในชิตรัล

ภาษาโควาร์ (کھووار) จัดอยู่ในภาษากลุ่มดาร์ดิก มีผู้พูดหลักในชิตรัล ประเทศปากีสถาน[2]ทางตะวันตกฉียงเหนือ ในหุบเขายาซินและคูปิส ในคลิกิส บางส่วนของสวัตตอนบน เป็นภาษาที่สองในคลิกิสและฮันซา เชื่อกันว่ามีผู้พูดภาษาโควาร์จำนวนเล็กน้อยในอัฟกานิสถาน จีน อินเดีย ทาจิกิสถานและในกรุงอิสตันบูล

ภาษาโควาร์มีลักษณะของภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่นการใช้สรรพนาม

  • ฉันเป็น = asum
  • คุณเป็น = asus
  • เขาเป็น = asor
  • พวกเราเป็น = asusi
  • พวกคุณเป็น =asumi
  • พวกเขาเป็น = asuni

ภาษาโควาร์ได้รับอิทธิพลจากภาษากลุ่มอิหร่านมากกว่าภาษาอื่นในกลุ่มดาร์ดิกด้วยกัน แต่มีหน่วยคำจากภาษาสันสกฤตน้อยกว่าภาษาชินาหรือภาษาโกฮิสถาน Colonel Biddulph เป็นชาวตะวันตกรุ่นแรก ๆ ที่ศึกษาภาษาโควาร์และกล่าวว่าภาษาโควาร์สืบทอดมาจากภาษาอเวสตะ ภาษาเปอร์เซียโบราณ และภาษาสันสกฤต เขียนด้วยอักษรอาหรับแบบภาษาอูรดู

อ้างอิง

ข้อมูลเพิ่มเติม

  • Bashir, Elena (2001) "Spatial Representation in Khowar". Proceedings of the 36th Annual Meeting of the Chicago Linguistic Society. Chicago: Chicago Linguistic Society.
  • Decker, D. Kendall (1992). Languages of Chitral. ISBN 969-8023-15-1.
  • L'Homme, Erik (1999) Parlons Khowar. Langue et culture de l'ancien royaume de Chitral au Pakistan. Paris: L'Harmattan
  • Morgenstierne, Georg (1936) "Iranian Elements in Khowar". Bulletin of the School of Oriental and African Studies, Vol. VIII, London.
  • Badshah Munir Bukhari (2001) Khowar language. University publisher. Pakistan
  • Morgenstierne, Georg (1947) "Some Features of Khowar Morphology". Norsk Tidsskrift for Sprogvidenskap, Vol. XIV, Oslo.
  • Morgenstierne, Georg (1957) Sanskritic Words in Khowar. Felicitation Volume Presented to S. K. Belvalkar. Benares. 84–98 [Reprinted in Morgenstierne (1973): Irano-Dardica, 267–72]
  • Mohammad Ismail Sloan (1981) Khowar-English Dictionary. Peshawar. ISBN 0-923891-15-3.
  • Decker, Kendall D. (1992). Languages of Chitral (Sociolinguistic Survey of Northern Pakistan, 5). National Institute of Pakistani Studies, 257 pp. ISBN 969-8023-15-1.
  • Zeal News

https://www.chitraltoday.net/2015/06/cultural-diversity-of-chitral/#:~:text=Chitral%20is%20also%20the%20most,lived%20together%20peacefully%20for%20centuries.

แหล่งข้อมูลอื่น