ราชอาณาจักรเนปาล

ราชอาณาจักรเนปาล

  • नेपाल अधिराज्य
  • เนปาล อธิราชยะ
2311–2551
ธงชาติเนปาล
ธงชาติเนปาล ก่อนปี พ.ศ. 2505
ด้านบน: ธงชาติ (พ.ศ. 2505–2551)
ด้านล่าง: ธงชาติ (ก่อนปี พ.ศ. 2505)
คำขวัญजननी जन्मभूमिश्च स्वर्गादपि गरीयसी (ภาษาสันสกฤต)
มารดาและมาตุภูมิยิ่งใหญ่กว่าสวรรค์
เพลงชาติพ.ศ. 2505–2549:
"ศรีมาน คัมภีระ เนปาลี" (เนปาล: श्रीमान् गम्भीर)
(ไทย: "ขอให้พระมหากษัตราธิราชผู้องอาจของเราจงทรงพระเจริญเถิด")

พ.ศ. 2550–2551:
"สเยาง์ ถุงคา ผูลกา หามี"
ดินแดนแห่งราชอาณาจักรเนปาลใน พ.ศ. 2351
ดินแดนแห่งราชอาณาจักรเนปาลใน พ.ศ. 2351
ดินแดนแห่งราชอาณาจักรเนปาลใน พ.ศ. 2551
ดินแดนแห่งราชอาณาจักรเนปาลใน พ.ศ. 2551
สถานะ
  • ราชาธิปไตย

อารักขาของอังกฤษ (2359–2466)[1][2][3]

เมืองหลวงกาฐมาณฑุ
ภาษาทั่วไปภาษาเนปาล (โกร์ขลี)
ศาสนา
ศาสนาฮินดู (ศาสนาประจำชาติ)
เดมะนิมชาวเนปาล
การปกครองรัฐเดี่ยวสมบูรณาญาสิทธิราชย์
(2311–2494; 2505-2533; 2545; 2548-2549)
  • ภายใต้เผด็จการทหาร
    (2319–2322; 2328–2347; 2349–2380; 2381–2389)
  • ภายใต้เผด็จการทหารเบ็ดเสร็จ
    (2389–2494)

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญแบบรัฐสภา
(2494-2495; 2496-2498; 2499-2503; 2533–2545; 2545-2548; 2549-2551)

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
(2495-2496; 2498-2499; 2503-2505)
ศรีปัญจมหาราชธิราช (มหาราช) 
• 2311–2318
พระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ (องค์แรก)
• 2544–2551
(หลังครองราชย์เป็นรัชทายาทที่ได้รับสมมุติในปี พ.ศ. 2551)
สมเด็จพระราชาธิบดีชญาเนนทระแห่งเนปาล (องค์สุดท้าย)
นายกรัฐมนตรี 
• 2342–2347
ทาโมทัร ปังเท (นายกรัฐมนตรีคนแรก)
• 2549–2551
คิริชา ประสาท โกอิราลา (นายกรัฐมนตรีคนสุดท้าย)
สภานิติบัญญัติ
  • ไม่มี (ปกครองโดยพระราชกฤษฎีกา)
    (2768-2491; 2493-2494)
  • ราษฎรียะปัญฉะยัต
    (2505–2533)
  • รัฐสภา
    (2491-2493; 2502-2505; 2533–2548; 2549–2550)
  • สภานิติบัญญัติชั่วคราว
    (2494-2502; 2550–2551)
วุฒิสภา
(2502-2505)
รัฐสภา
(2533-2545)
สภาผู้แทนราษฎร
(2502-2505; 2533-2545)
ประวัติศาสตร์ 
• การรวมชาติภายใต้พระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ
25 กันยายน 2311[4]
• ราชวงศ์ถาปะ
(ภายใต้ราชวงศ์ศาหะ)
2349–2380 และ
2386–2388
• ราชวงศ์ปังเท
2342–2347 และ
2380–2383
• ราชวงศ์รานา
2389–2494
• ระบอบปัญฉะยัต
2503–2533
2533–2551
28 พฤษภาคม 2551
สกุลเงิน
ก่อนหน้า
ถัดไป
พ.ศ. 2311:อาณาจักรโคร์ขา
พ.ศ. 2312:ราชวงศ์มัลละ
คริสต์ทศวรรษ 1770—1780:เจ้าพิสีรัชยา
พ.ศ. 2317:อาณาจักรกีรัต
พ.ศ. 2319:
ราชอาณาจักรสิกขิม
คริสต์ทศวรรษ 1780:ไพเสรัชยา
พ.ศ. 2334:อาณาจักรโฑฏี
อาณาจักรกุมาอง
พ.ศ. 2347:อาณาจักรครหะวาล
พ.ศ. 2359:รัฐเจ้าฟ้าชายแห่งเตหะรีครหะวาล
ราชอาณาจักรสิกขิม
พ.ศ. 2551:
สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเนปาล
ประเทศอินเดีย

ราชอาณาจักรเนปาล (อังกฤษ: Kingdom of Nepal, เนปาล: नेपाल अधिराज्य) หรือราชอาณาจักรโครขา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2311 โดยการก่อตั้งประเทศเนปาล โดย พระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะ (r. 1768-1775) กษัตริย์ของชาวกุรข่า ผู้รวบรวมดินแดนในหุบเขากาฐมาณฑุ ปาตาน และภักตปุรเข้าเป็นรัฐเดียวกัน และดำรงอยู่ 240 ปี ภายใต้การปกครองของราชวงศ์ศาหะ จนกระทั่งสิ้นสุดลงในปี พ.ศ. 2551

ศตวรรษที่ 18

ศตวรรษที่ 19

หลังจากความสำเร็จในการก่อตั้งประเทศ โดยไม่รวมที่ไม่ประสบความสำเร็จในการรุกรานทิเบตและการอ้างสิทธิ์ดินแดนกับราชวงศ์ชิงของจีน ราชอาณาจักรเนปาลกลายเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ และบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษในสงครามกุรข่า (พ.ศ. 2357 -2359) ราชอาณาจักรเนปาลได้รับเอกราชตามสนธิสัญญาสุเคาลี ความไร้เสถียรภาพทางการเมืองที่ตามมาเกิดจากการแทรกแซงของราชวงศ์ราณา เริ่มต้นด้วย ชังค์ บะหะดุร์ ราณา เข้ามาเป็นอัครมหาเสนาบดีโดยการสืบสายโลหิตระหว่าง พ.ศ. 2386 - 2494 ซึ่งเป็นการลดบทบาทของกษัตริย์ราชวงศ์ศาหะให้เป็นเสมือนเจว็ดเท่านั้น

ศตวรรษที่ 20

ในปี พ.ศ. 2490 ผู้นำราชวงศ์ราณา โมฮัน ชัมเชอร์ ชังค์ บะหะดุร์ ราณา ได้ถอดถอดพระเจ้าตริภูวัน พีระ พิกรม ศาหะ เทวะ ออกจากราชสมบัติ และยกเอาพระเจ้าชญาเนนทระผู้เป็นพระนัดดาขึ้นครองราชสมบัติ อินเดียซึ่งขณะนั้นได้รับเอกราชแล้ว ได้มีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนให้พระเจ้าตริภูวันได้ครองราชสมบัติอีกครั้ง และสนับสนุนรัฐบาลใหม่ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วยสมาชิกพรรคคองเกรสเนปาล ยังผลให้บทบาททางการเมืองของราชวงศ์ราณาสิ้นสุดลง

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 - 2549 ได้เกิดสงครามกลางเมืองเนปาล ซึ่งเป็นความขัดแย้งระหว่างฝ่ายรัฐบาลกับพรรคคอมมิวนิสต์เนปาล จนนำไปสู่การยกเลิกการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และเปลี่ยนเป็นการปกครองระบบสาธารณรัฐเมื่อ 28 พ.ค. 2551 ในช่วงที่เป็นราชอาณาจักรนี้ เนปาลเป็นประเทศเดียวในโลกที่เป็นรัฐศาสนาโดยใช้ศาสนาฮินดูเป็นศาสนาประจำชาติ [5] ส่วนสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาลเป็นรัฐทางโลก[6]

อ้างอิง

  1. "History of Kingdom of Nepal". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2012. สืบค้นเมื่อ 29 April 2017.
  2. "History of Nepal: A Sovereign Kingdom". Official website of Nepal Army. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 December 2017. สืบค้นเมื่อ 29 April 2017.
  3. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name nepalarmythree cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  4. Subba, Sanghamitra (20 December 2019). "A future written in the stars". Nepali Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 January 2021. สืบค้นเมื่อ 31 January 2021.
  5. http://www.theindiapost.com/2009/10/28/why-monarchy-is-necessary-in-nepal/
  6. "Religious Intelligence - News - Nepal moves to become a secular republic". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-30. สืบค้นเมื่อ 2011-05-01.

แหล่งข้อมูลอื่น