รายชื่อวัฒนธรรมยุคหินใหม่ของจีน
รายชื่อของวัฒนธรรมในช่วง ยุคหินใหม่ ของประเทศ จีน ที่นักโบราณคดีขุดพบ โดยเรียงตามลำดับเวลาจากต้นถึงท้ายสุด และแผนผังแสดงความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมเหล่านี้ในเชิงระยะเวลาและเชิงภูมิศาสตร์
ทั้งนี้การจำกัดความของยุคหินใหม่ของจีนกำลังอยู่ระหว่างการทบทวน เนื่องจากการค้นพบเครื่องปั้นดินเผาในปี 2012 ที่มีอายุประมาณ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งบ่งชี้ว่าคำจำกัดความของยุคหินใหม่จากตัวชี้วัดคือ เครื่องปั้นดินเผา เพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอที่จะใช้กำหนดช่วงยุคหินใหม่ได้อีกต่อไป [1] การจำกัดความจะซับซ้อนขึ้นจากการกำหนดตัวชี้วัดใหม่ คือ ช่วงการเริ่มต้นการปลูกธัญพืชในจีน
รายชื่อ
ภาพ | ช่วงระยะเวลา
(ปีก่อนคริสตกาล) |
ชื่อภาษาไทย | ชื่อภาษาจีน | ชื่อภาษาอังกฤษ | ชื่อและที่ตั้งในปัจจุบัน |
---|---|---|---|---|---|
18000–7000 | วัฒนธรรมถ้ำเซียนเหริน
(ซากโบราณเตี้ยวถ่งหฺวัน) |
仙人洞 (吊桶环遗址) | Xianren Cave culture (Paleolithic) |
อำเภอว่านเหนียน นครช่างเหรา มณฑลเจียงซี | |
8500–7700 | วัฒนธรรมหนานจวงโถว | 南莊頭遺址 | Nanzhuangtou culture | ภูมิภาคแม่น้ำเหลือง มณฑลเหอเป่ย์ตอนใต้ | |
7500–6100 | วัฒนธรรมเผิงโถวชาน | 彭頭山文化 | Pengtoushan culture | ภูมิภาคตอนกลางของแม่น้ำแยงซี ทางตะวันตกเฉียงเหนือของมณฑลหูหนาน | |
![]() |
7000–5000 | วัฒนธรรมเผย์หลี่กั่ง | 裴李崗文化 | Peiligang culture | ที่ลุ่มหุบเขาแม่น้ำอี-ลั่ว ในมณฑลเหอหนาน |
6500–5500 | วัฒนธรรมโฮ่วหลี่ | 後李文化 | Houli culture | มณฑลชานตง | |
6200–5400 | วัฒนธรรมซิงหลงวา | 興隆洼文化 | Xinglongwa culture | ระว่างเขตแดนมองโกเลียใน-มณฑลเหลียวหนิง | |
6000–5000 | วัฒนธรรมคั่วหูเฉียว | 跨湖桥文化 | Kuahuqiao culture | มณฑลเจ้อเจียง | |
6000–5500 | วัฒนธรรมฉีชาน | 磁山文化 | Cishan culture | มณฑลเหอเป่ย์ตอนใต้ | |
5800–5400 | วัฒนธรรมต้าตี้วาน | 大地灣文化 | Dadiwan culture | มณฑลกานซู่, มณฑลฉ่านซีทางตะวันตก | |
5500–4800 | วัฒนธรรมซินเล่อ | 新樂文化 / 新乐文化 | Xinle culture | ภูมิภาคตอนปลายแม่น้ำเหลียว บนคาบสมุทรเหลียวตง | |
5400–4500 | วัฒนธรรมเจ้าเป่าโกว | 趙宝溝文化 / 赵宝沟文化 | Zhaobaogou culture | ที่ลุ่มหุบเขาแม่น้ำหลวน ในมองโกเลียใน, มณฑลเหอเป่ย์ตอนเหนือ | |
5300–4100 | วัฒนธรรมเป่ย์ซินเหวิน | 北辛文化 | Beixin culture | ชานตง | |
![]() |
5000–4500 | วัฒนธรรมเหอหมู่ตู้ | 河姆渡文化 | Hemudu culture | ยฺหวีเหยาและโจวชาน ในมณฑลเจ้อเจียง |
5000–3000 | วัฒนธรรมต้าซี | 大溪文化 | Daxi culture | ภูมิภาคสามผา | |
5000–3000 | วัฒนธรรมหม่าเจียปัง | 馬家浜文化 | Majiabang culture | พื้นที่รอบทะเลสาบไท่, อ่าวหางโจว | |
![]() |
5000–3000 | วัฒนธรรมหย่างเฉา | 仰韶文化 | Yangshao culture | มณฑลเหอหนาน, มณฑลฉ่านซี, มณฑลชานซี |
![]() |
4700–2900 | วัฒนธรรมหงชาน | 紅山文化 | Hongshan culture | มองโกเลียใน, มณฑลเหลียวหนิง, มณฑลเหอเป่ย์ |
![]() |
4100–2600 | วัฒนธรรมต้าเวิ่นโข่ว | 大汶口文化 | Dawenkou culture | มณฑลชานตง, มณฑลอานฮุย, มณฑลเหอหนาน, และมณฑลเจียงซู |
3800–3300 | วัฒนธรรมซงเจ๋อ | 崧澤文化 | Songze culture | พื้นที่รอบทะเลสาบไท่ | |
![]() |
3400–2250 | วัฒนธรรมเหลียงจู่ | 良渚文化 | Liangzhu culture | ปากแม่น้ำแยงซี |
![]() |
3100–2700 | วัฒนธรรมหม่าเจียเหยา | 馬家窯文化 | Majiayao culture | ภูมิภาคตอนต้นแม่น้ำเหลือง ในมณฑลกานซู่ มณฑลชิงไห่ |
3100–2700 | วัฒนธรรมชูเจียหลิง | 屈家嶺文化 | Qujialing culture | ภูมิภาคตอนกลางแม่น้ำแยงซี ในมณฑลหูเป่ย์ มณฑลหูหนาน | |
3000–2000 | วัฒนธรรมหลงชาน | 龍山文化 | Longshan culture | ภูมิภาคตอนกลางและตอนปลายแม่น้ำเหลือง | |
2800–2000 | วัฒนธรรมเป่าตุน | 寶墩文化 / 宝墩文化 | Baodun culture | ที่ราบเฉิงตู | |
2500–2000 | วัฒนธรรมฉือเจียเหอ | 石家河文化 | Shijiahe culture | ภูมิภาคตอนกลางแม่น้ำแยงซี ในหูเป่ย์ | |
1900–1500 | วัฒนธรรมเยว่ฉือ | 岳石文化 | Yueshi culture | ภูมิภาคตอนปลายแม่น้ำเหลืองในชานตง |
การแบ่งช่วงเวลาของวัฒนธรรม (โครงร่าง)


แผนผังแสดงวัฒนธรรมต่าง ๆ ในยุคหินใหม่ของจีนจัดเรียงตามช่วงเวลาระหว่าง 8,500 ถึง 1,500 ปีก่อนคริสตกาลและแยกตามภูมิภาคของจีนจากเหนือจรดใต้ วัฒนธรรมยุคหินใหม่จัดแสดงในช่องที่ไม่มีเครื่องหมาย * และ วัฒนธรรมยุคสำริด (ตั้งแต่ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล) จัดแสดงในช่องที่มีเครื่องหมาย *
ความคิดเห็นทางวิชาการในเรื่องการแบ่งช่วงระยะเวลาของวัฒนธรรมเหล่านี้ มีความแตกต่างกันและยังไม่ได้ข้อสรุปที่แน่นอน ดังนั้นข้อมูลในแผนผังจึงเป็นข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น
ปี (ก่อนคริสตกาล) | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน (1) |
แม่น้ำหวงตอนบน (2) |
แม่น้ำหวงตอนกลาง (3) |
แม่น้ำหวงตอนล่าง (4) |
แม่น้ำแยงซีตอนล่าง (5) |
แม่น้ำแยงซีตอนกลาง (6) |
ที่ราบเสฉวน (7) | จีนตะวันออกเฉียงใต้ (8) |
จีนตะวันตกเฉียงใต้ (9) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
8500 | วัฒนธรรมหนานจวงโถว | ||||||||
8500–7700 | |||||||||
8000 | |||||||||
7500 | |||||||||
7000 | วัฒนธรรมเผิงโถวชาน | ||||||||
(including | |||||||||
Chengbeixi | |||||||||
6500 | วัฒนธรรมต้าตี้วาน | วัฒนธรรมเผย์หลี่กั่ง | วัฒนธรรมโฮ่วหลี่ | and Zaoshi) | Zengpiyan | ||||
วัฒนธรรมซิงหลงวา | Laoguantai | วัฒนธรรมฉีชาน | 6500–5500 | 7000–5800 | 7000–5500 | ||||
6200–5400 | = Baijia | Jiahu | |||||||
6000 | 6500–5000 | Lijiacun | วัฒนธรรมคั่วหูเฉียว | ||||||
6500–5000 | 6000–5000 | ||||||||
5500 | |||||||||
Beixin | |||||||||
วัฒนธรรมซินเล่อ | 5300–4500 | ||||||||
5000 | 5300–4800 | วัฒนธรรมหย่างเฉา | เหอหมู่ตู้ | วัฒนธรรมต้าซี | Dapenkeng | ||||
(Yangshao) | (Hemudu) | 5000–3300 | Fuguodun | ||||||
5000–3000 | 5000–3400 | 5000–3000 | |||||||
4500 | วัฒนธรรมเจ้าเป่าโกว | วัฒนธรรมหม่าเจียปัง | |||||||
4500–4000 | วัฒนธรรมต้าเวิ่นโข่ว | 5000–4000 | |||||||
4300–2600 | วัฒนธรรมซงเจ๋อ | ||||||||
4000 | 4000–3000 | ||||||||
3500 | วัฒนธรรมชูเจียหลิง | ||||||||
วัฒนธรรมหงชาน | 3500–2600 | Yingpanshan | |||||||
(Hongshan) | วัฒนธรรมหม่าเจียเหยา | วัฒนธรรมเหลียงจู่ | c. 3100? | ||||||
3000 | (รวม Fuhe) | 3300–2700 | 3200–1800 | Tanishan | |||||
3400–2300 | Banshan | * วัฒนธรรมหลงชาน | Shijiahe | วัฒนธรรมเป่าตุน | Shixia | ||||
2700–2400 | (Longshan) | * วัฒนธรรมหลงชาน | 2500–2000 | 2800–2000 | Nianyuzhuan | ||||
2500 | Machang | เหอหนาน | (Longshan) | Qinglongquan | Qinglongquan | ||||
2400–2000 | 2800–2000 | ชานตง | = (Hubei- | Hedang | Baiyangcun | ||||
*Qijia | 2600–2000 | Longshan) | 3000–.... | 2200–2100 | |||||
2000 | *Xiajiadian | 2300–1800 | 2400–2000 | Dalongtan | |||||
2000–300 | *Erlitou | *Yueshi | 2100–2000 | ||||||
*Siba | 1900–1500 | 1900–1500 | *Maqiao | ||||||
1500 | 1950–1500 | XiaDynasty? | 1800–1200 | *Chang Jiang (Sanxingdui) |
from 1500 |
สำหรับโครงร่างของวัฒนธรรมยุคใหม่นี้จีนได้แบ่งออกเป็น 9 ภูมิภาคดังต่อไปนี้:
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน: มองโกเลียใน มณฑลเฮยหลงเจียง มณฑลจี๋หลิน และ มณฑลเหลียวหนิง
- จีนตะวันตกเฉียงเหนือ (แม่น้ำหวงตอนบน): มณฑลกานซู ชิงไห่ และ ทางตะวันตกของมณฑลฉ่านซี
- ทางตอนเหนือของจีน (แม่น้ำหวงตอนกลาง): มณฑลชานซี มณฑลเหอเป่ย ทางตะวันตกของมณฑลเหอหนาน และ ทางตะวันออกของมณฑลฉ่านซี
- ภาคตะวันออกของจีน (แม่น้ำหวงตอนล่าง): มณฑลซานตง มณฑลอานฮุย ทางตอนเหนือของมณฑลเจียงซู และ มณฑลเหอหนานทางตะวันออก
- ตะวันออก - ตะวันออกเฉียงใต้ของจีน (แม่น้ำแยงซีตอนล่าง): มณฑลเจ้อเจียง และส่วนใหญ่ของมณฑลเจียงซู
- ทางตอนใต้ของจีน (แม่น้ำแยงซีตอนกลาง): มณฑลหูเป่ย และ ทางตอนเหนือของมณฑลหูหนาน
- มณฑลเสฉวน และตอนบนของแม่น้ำแยงซี
- จีนตะวันออกเฉียงใต้: มณฑลฝูเจี้ยน มณฑลเจียงซี มณฑลกวางตุ้ง มณฑลกวางสี ทางตอนใต้ของมณฑลหูหนาน แม่น้ำแดงตอนล่าง ทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม และ เกาะไต้หวันของประเทศจีน
- จีนตะวันตกเฉียงใต้: มณฑลยูนนาน และ มณฑลกุ้ยโจว
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ Xiaohong Wu, Chi Zhang, Paul Goldberg, David Cohen, Yan Pan, Trina Arpin, Ofer Bar-Yosef (2012). Early Pottery at 20,000 Years Ago in Xianrendong Cave, China. Science, 336, 1696–1700.
เอกสารประกอบ
- Chang, Kwang-chih (1986). The archaeology of ancient China. New Haven, Conn: Yale University Press. ISBN 0-300-03784-8.
- Loewe, Michael (1999). The Cambridge history of ancient China:from the origins of civilization to 221 B.C. Cambridge, UK New York: Cambridge University Press. ISBN 0-521-47030-7.
- Zhonghu, H.; Bonjean, A.P.A. Cereals in China. Cimmyt. ISBN 978-970-648-177-1. สืบค้นเมื่อ 2017-07-16.
- Higham, Charles (1996). The Bronze Age of Southeast Asia. Cambridge England: Cambridge University Press. ISBN 0-521-49660-8.
- Liu, Li (2004). The Chinese neolithic:trajectories to early states. Cambridge, UK New York: Cambridge University Press. ISBN 0-521-81184-8.
- Liu, Li; Chen, Xingcan (eds). 2012. The archaeology of China: from the late paleolithic to the early bronze age. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-64310-8
- Underhill, Anne P (ed). 2013. A companion to Chinese archaeology. Blackwell Publishing. ISBN 978-1-4443-3529-3
- Maisels, Charles (1999). Early civilizations of the old world:the formative histories of Egypt, the Levant, Mesopotamia, India, and China. London New York: Routledge. ISBN 0-415-10976-0.
- Scarre, Christopher (2005). The human past:world prehistory & the development of human societies. New York, N.Y: Thames & Hudson. ISBN 0-500-28531-4.
- chapter 7, Higham, Charles, 'East Asian Agriculture and Its Impact', p.234-264.
- chapter 15, Higham, Charles, 'Complex Societies of East and Southeast Asia', p.552-594
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ รายชื่อวัฒนธรรมยุคหินใหม่ของจีน