รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปใต้

องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 16 ประเทศในภูมิภาคยุโรปใต้ ยิบรอลตาร์ (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร) และดินแดนในส่วนทวีปยุโรปของตุรกี เป็นแหล่งมรดกโลกหลายแห่ง [1] ทั้งนี้ ไม่นับรวมแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในแคว้นกานาเรียสของสเปน มาเดราของโปรตุเกส ดินแดนในส่วนทวีปเอเชียของตุรกี และประเทศไซปรัส

  • หมายเหตุ – ตัวเลขหน้าข้อความหมายถึง ปี พ.ศ./ค.ศ. ที่สถานที่นั้นๆ ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก

สถิติ

ประเทศ จำนวนมรดกโลก ประเภท
 อิตาลี
59 แห่ง
วัฒนธรรม 53 แห่ง, ธรรมชาติ 6 แห่ง
 สเปน
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
48 แห่ง
วัฒนธรรม 44 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง, ผสม 2 แห่ง
 กรีซ
19 แห่ง
วัฒนธรรม 17 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง
 โปรตุเกส
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
16 แห่ง
วัฒนธรรม 16 แห่ง
 โครเอเชีย
10 แห่ง
วัฒนธรรม 8 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง
 เซอร์เบีย
5 แห่ง
วัฒนธรรม 5 แห่ง
 สโลวีเนีย วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 2 แห่ง
 แอลเบเนีย
4 แห่ง
วัฒนธรรม 4 แห่ง
 มอนเตเนโกร วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง
 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา วัฒนธรรม 3 แห่ง, ธรรมชาติ 1 แห่ง
 มอลตา
3 แห่ง
วัฒนธรรม 3 แห่ง
 ตุรกี
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
2 แห่ง
วัฒนธรรม 2 แห่ง[2]
 นครรัฐวาติกัน วัฒนธรรม 2 แห่ง
 มาซิโดเนียเหนือ ธรรมชาติ 1 แห่ง, ผสม 1 แห่ง
 อันดอร์รา
1 แห่ง
วัฒนธรรม 1 แห่ง
 ซานมารีโน วัฒนธรรม 1 แห่ง
 บริเตนใหญ่
(ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)
วัฒนธรรม 1 แห่ง

 กรีซ

อะครอโพลิส เอเธนส์
เอพิดอรัส
  • 2529/1986 – เทวสถานอะพอลโลเอพิคิวเรียสที่บัสไซ
  • 2530/1987 – อะโครโพลิส, เอเธนส์
  • 2530/1987 – แหล่งโบราณคดีเดลฟี
  • 2531/1988 – นครสมัยกลางแห่งโรดส์
  • 2531/1988 – เมเตโอรา
  • 2531/1988 – ภูเขาแอทอส
  • 2531/1988 – โบราณสถานศิลปะคริสเตียนเริ่มแรกและไบแซนไทน์แห่งเทสซาลอนิกา
  • 2531/1988 – บริเวณศักดิ์สิทธิ์อัสเกลปีโอสที่เอพิดอรัส
  • 2532/1989 – แหล่งโบราณคดีมิสตราส
  • 2532/1989 – แหล่งโบราณคดีโอลิมเปีย
  • 2533/1990 – ดีลอส
  • 2533/1990 – อารามดัฟนี, โอซีโอสลูกัส และเนอาโมนีแห่งชีโอส
  • 2535/1992 – ไพแทกอเรออนและฮิเรออนแห่งซาโมส
  • 2539/1996 – แหล่งโบราณคดีไอไก (ชื่อปัจจุบันเวร์ยีนา)
  • 2542/1999 – แหล่งโบราณคดีไมซีนีและทีรินส์
  • 2542/1999 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์ (โครา) พร้อมด้วยอารามนักบุญจอห์น "นักเทววิทยา" และถ้ำแห่งวิวรณ์บนเกาะปัตโมส
  • 2550/2007 – เมืองเก่าคอร์ฟู
  • 2559/2016 – แหล่งโบราณคดีฟิลิปไพ
  • 2566/2023 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมซาโกรี

 โครเอเชีย

ดูบรอฟนีก

 ซานมารีโน

 เซอร์เบีย

อารามสตูเดนิตซา

 ตุรกี (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)

อิสตันบูล

 นครรัฐวาติกัน

 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา

มอสตาร์

 โปรตุเกส (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)

คอนแวนต์แห่งพระคริสต์ในตูมาร์
ซิงตรา
  • 2526/1983 – ย่านใจกลางเมืองอังกราดูเอรูวิชมูในอะโซร์ส
  • 2526/1983 – อารามของคณะเฮียรอนิไมต์และหอคอยบึไลในลิสบอน
  • 2526/1983 – อารามบาตัลยา
  • 2526/1983 – คอนแวนต์แห่งพระคริสต์ในตูมาร์
  • 2529/1986 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์แอวูรา
  • 2532/1989 – อารามอัลกูบาซา
  • 2538/1995 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมซิงตรา
  • 2539/1996 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์โปร์ตู สะพานลูอิชที่ 1 และอารามแซราดูปีลาร์
  • 2541/1998 – แหล่งศิลปะบนหินยุคก่อนประวัติศาสตร์ในหุบเขาโกอาและซิเอกาเบร์เด (ร่วมกับสเปน)
  • 2544/2001 – ศูนย์กลางประวัติศาสตร์กีมาไรช์และเขตโกรุช
  • 2544/2001 – ภูมิภาคผลิตไวน์อัลตูโดรู
  • 2547/2004 – ภูมิทัศน์วัฒนธรรมไร่องุ่นของเกาะปีกู
  • 2555/2012 – เมืองค่ายทหารชายแดนแห่งแอลวัชและป้อมปราการ
  • 2556/2013 – มหาวิทยาลัยกูอิงบรา – อัลตาและโซฟีอา
  • 2562/2019 – อาคารหลวงมาฟรา – พระราชวัง มหาวิหาร คอนแวนต์ สวนเซร์กู และอุทยานล่าสัตว์ (ตาปาดา)
  • 2562/2019 – บริเวณศักดิ์สิทธิ์บงฌึซุชดูมงตึในบรากา

 มอนเตเนโกร

กอตอร์
  • 2522/1979 – ภูมิภาคธรรมชาติและประวัติศาสตร์เชิงวัฒนธรรมแห่งกอตอร์
  • 2523/1980 – อุทยานแห่งชาติดูร์มิตอร์
  • 2559/2016 – สุสานศิลาจารึกหลุมศพสมัยกลาง (สเตชัก) (ร่วมกับโครเอเชีย เซอร์เบีย และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา)
  • 2560/2017 – งานป้องกันของสาธารณรัฐเวนิสระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16–17 : สตาโตดาแตร์รา – สตาโตดามาร์ตะวันตก (ร่วมกับโครเอเชียและอิตาลี)

 มอลตา

วัลเลตตา
  • 2523/1980 – สิ่งก่อสร้างใต้ดินแห่งฮัลซัฟลีนี
  • 2523/1980 – นครวัลเลตตา
  • 2523/1980 – เทวสถานหินใหญ่แห่งมอลตา

 มาซิโดเนียเหนือ

 สเปน (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)

อาลัมบรา
ซากราดาฟามิลิอา ผลงานอันตอนี เกาดี
อาบิลา
โตเลโด
แซร์ราดาตรามุนตานา

 สโลวีเนีย

ถ้ำชคอตส์ยัน

 สหราชอาณาจักร (ส่วนที่อยู่ในภูมิภาคยุโรปใต้)

  • 2559/2016 – กลุ่มถ้ำกอรัม

 อันดอร์รา

  • 2547/2004 – หุบเขามาดริว-เปราฟิตา-กลาโร

 อิตาลี

สันตะสำนัก
จัตุรัสดูโอโม ปิซา
ซีเอนา
อัลเบโรเบลโล
อากรีเจนโต
อูร์บีโน

 แอลเบเนีย

จีโรคัสตรา

อ้างอิง

  1. World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.
  2. ตุรกีมีแหล่งมรดกโลกทั้งสิ้น 20 แห่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 18 แห่ง และแบบผสม 2 แห่ง

แหล่งข้อมูลอื่น