รายพระนามเคาะลีฟะฮ์

เคาะลีฟะฮ์
خَليفة
อักษรวิจิตรของอะบูบักร์ อัศศิดดีก เคาะลีฟะฮ์องค์แรก
การเรียกขานอะมีรุลมุอ์มินีน
จวนมะดีนะฮ์
กูฟะฮ์
ดามัสกัส
แบกแดด
ซามัรรออ์
ไคโร
คอนสแตนติโนเปิล หรืออิสตันบูล
สถาปนา8 มิถุนายน ค.ศ. 632
คนแรกอะบูบักร์
คนสุดท้ายสุลต่านอับดุล เมจิดที่ 2
ยกเลิก3 มีนาคม ค.ศ. 1924

นี่คือ รายพระนามบุคคลที่ได้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ ที่เป็นผู้นำสูงสุดในด้านศาสนากับการเมืองของรัฐอิสลาม ซึ่งรู้จักกันในชื่อรัฐเคาลีฟะฮ์ และตำแหน่งของอุมมะฮ์อิสลาม ในฐานะผู้สืบทอดทางการเมืองต่อจากมุฮัมมัด

เคาะลีฟะฮ์โดยทั่วไป

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน (8 มิถุนายน ค.ศ. 632 – 29 มกราคม 661)

# อักษรวิจิตร/เหรียญ พระนาม (และตำแหน่ง) ประสูติ ปกครองตั้งแต่ จนถึง สวรรคต ความสัมพันธ์กับมุฮัมมัด พระราชบุพการี เผ่า หมายเหตุ
1 อะบูบักร์
(أبو بكر)
อัศศิดดีก
ค.ศ. 573 8 มิถุนายน ค.ศ. 632 22 สิงหาคม ค.ศ. 634
  • อุษมาน อบูกุฮาฟะฮ์
  • ซัลมา อุมมุลค็อยร์
บนูตัยม์
  • อาจเป็นคนที่สี่ที่เข้ารับอิสลามในช่วงต้นของการเป็นศาสดาของมุฮัมมัด
  • ริเริ่มสงครามริดดะฮ์ใน ค.ศ. 632
2 อุมัร อิบน์ อัลค็อฏฏอบ
(عمر بن الخطاب)
อัลฟารุก
ค.ศ. 584 23 สิงหาคม ค.ศ. 634 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 644
(ถูกลอบสังหาร)
  • พ่อของฮัฟเซาะฮ์ ภรรยาของมุฮัมมัด
  • ค็อฏฏอบ อิบน์ นุฟัยล์
  • ฮันตามะฮ์ บินต์ ฮิชาม
บนูอะดี
  • เข้ารับอิสลามในช่วงประมาณปีที่ 6 ของการเป็นศาสดาของมุฮัมมัด
3 อุษมาน อิบน์ อัฟฟาน
(عثمان بن عفان)
ซุนนุร็อยน์
ค.ศ. 579 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 644 20 มิถุนายน ค.ศ. 656
(ถูกลอบสังหารในบ้านของตนเอง)
  • สามีของรุก็อยยะฮ์กับอุมมุกัลษูม ลูกสาวของมุฮัมมัด
  • หลานชายของอุมมุลฮะกีม บินต์ อับดุลมุฏฏอลิบ ป้าทางฝ่ายพ่อของมุฮัมมัด
  • อัฟฟาน อิบน์ อบีอัลอาศ
  • อัรวา บินต์ กุร็อยซ์
บนูอุมัยยะฮ์
4 อะลี อิบน์ อบีฏอลิบ
(علي بن أبي طالب)
อะมีรุลมุอ์มินีน
ฮัยดัร
อบูฏุร็อบ
อัลมุรตะซา
15 กันยายน ค.ศ. 601 20 มิถุนายน ค.ศ. 656 29 มกราคม ค.ศ. 661
(ถูกลอบสังหารตอนละหมาดที่มัสยิดใหญ่แห่งกูฟะฮ์)
  • ลูกพี่ลูกน้องคนแรกของมุฮัมมัด
  • สามีของฟาฏิมะฮ์ ลูกสาวของมุฮัมมัด
  • สามีของอุมามะฮ์ บินต์ ซัยนับ หลานสาวของมุฮัมมัด
  • ลูกหลานของมุฮัมมัดในปัจจุบันทั้งหมด สืบเชื้อสายผ่านทางอะลี
บนูฮาชิม
  • ชายคนแรกที่ยอมรับอิสลามอย่างเปิดเผย
  • ชีอะฮ์ถือว่าเป็นผู้สืบทอดคนแรกจากมุฮัมมัด

รัฐเคาะลีฟะฮ์ของฮะซัน อิบน์ อะลี (ค.ศ. 661)

# อักษรวิจิตร/เหรียญ พระนาม (และตำแหน่ง) ประสูติ ปกครองตั้งแต่ จนถึง สวรรคต ความสัมพันธ์กับมุฮัมมัด พระราชบุพการี เผ่า หมายเหตุ
5 ฮะซัน อิบน์ อะลี
(الحسن بن علي)

อะฮ์ลุลบัยต์
อัลมุจตะบา[1]
ค.ศ. 624 ค.ศ. 661 (6 หรือ 7 เดือน) ค.ศ. 670
  • หลานชายของมุฮัมมัด
  • ลูกชายของอะลี อิบน์ อบีฏอลิบ
บนูฮาชิม
  • ชีอะฮ์ถือว่าเป็นผู้สืบทอดคนที่สองจากมุฮัมมัด
  • สละราชสมบัติให้แก่มุอาวิยะฮ์ที่ 1
  • รู้จักกันในชื่อ เคาะลีฟะฮ์อัรรอชิดูนคนที่ 5

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ (ค.ศ. 661 – 6 สิงหาคม ค.ศ. 750)

# เหรียญ/พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม (และตำแหน่ง) ประสูติ ปกครองตั้งแต่ จนถึง สวรรคต ความสัมพันธ์กับมุฮัมมัด (หรือเคาะลีฟะฮ์ก่อนหน้า) พระราชบุพการี หมายเหตุ
6 มุอาวิยะฮ์ที่ 1
(معاوية)
ค.ศ. 602 ค.ศ. 661 29 เมษายน หรือ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 680
  • พระอนุชาต่างมารดาของร็อมละฮ์ บินต์ อบีซุฟยาน ภรรยาของมุฮัมมัด
  • อบูซุฟยาน อิบน์ ฮัรบ์
  • ฮินด์ บินต์ อุตบะฮ์
  • เคยทำงานเป็นหนึ่งในผู้บันทึกอย่างน้อย 29 คนในสมัยของมุฮัมมัด
  • เคยเป็นผู้ว่าแห่งซีเรียในรัชสมัยของอุมัร
7 ยะซีดที่ 1
(يزيد)
ค.ศ. 647 ค.ศ. 680 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 683
  • สมัยนั้นมีการอ้างตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์โดยอับดุลลอฮ์ อิบน์ อัซซุบัยร์ ใน ค.ศ. 680
8 มุอาวิยะฮ์ที่ 2
(معاوية الثاني)
ค.ศ. 664 พฤศจิกายน ค.ศ. 683 ค.ศ. 684
  • โอรสของยะซีดที่ 1
  • ยะซีดที่ 1 เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
  • เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์องค์สุดท้ายจากสายเลือดซุฟยาน
  • สละราชสมบัติโดยไม่มีโอรสธิดา
9 มัรวานที่ 1
(مروان بن الحکم)
ค.ศ. 623–626 ค.ศ. 684 7 พฤษภาคม ค.ศ. 685
  • อัลฮะกัม อิบน์ อบีอัลอาศ
  • การครองราชย์ของมัรวานเป็นจุดเปลี่ยนสายเลือดของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ จากลูกหลานของอบูซุฟยานไปเป็นของฮะกัม ทั้งคู่เป็นหลานชายของอุมัยยะฮ์ อิบน์ อับดุชชัมส์ (เป็นต้นกำเนิดของชื่อราชวงศ์)
10 อับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน
(عبد الملك بن مروان)
ค.ศ. 646 ค.ศ. 685 8 ตุลาคม ค.ศ. 705
  • โอรสของมัรวานที่ 1
  • มัรวานที่ 1 เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
  • อาอิชะฮ์ บินต์ มุอาวิยะฮ์ อิบน์ อัลมุฆีรอ
11 อัลวะลีดที่ 1
(الوليد الأول)
ค.ศ. 668 ตุลาคม ค.ศ. 705 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 715
  • โอรสของอับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน
  • อับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
  • วะลิดะฮ์ บินต์ อัลอับบาส
12 สุลัยมาน อิบน์ อับดุลมะลิก
(سلیمان بن عبدالملک)
ค.ศ. 674 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 715 22 กันยายน ค.ศ. 717
  • อับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
  • วาลิดะฮ์ บินต์ อัลอับบาส
13 อุมัร อิบน์ อับดุลอะซีซ
(عمر بن عبد العزيز)
2 พฤศจิกายน ค.ศ. 682 กันยายน ค.ศ. 717 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 720
  • พระนัดดาของมัรวานที่ 1
  • ลูกพี่ลูกน้องคนแรกของอัลวะลีดที่ 1และสุลัยมาน อิบน์ อับดุลมะลิก
  • พระราชปนัดดาของอุมัร อิบน์ อัลค็อฏฏอบทางฝั่งผู้หญิง
  • อับดุลอะซีซ อิบน์ มัรวาน
  • อุมมุอะซิม ลัยลา บินต์ อะซิม อิบน์ อุมัร
  • ส่วนใหญ่รู้จักกันในฉายาเคาะลีฟะฮ์อัรรอชิดูนคนที่ 5
  • บางคนกล่าวให้พระองค์เป็นเคาะลีฟะฮ์อัรรอชิดูนคนที่ 6 โดยนับรวมฮะซัน อิบน์ อะลี เป็นคนที่ 5
14 ยะซีดที่ 2
(يزيد الثاني)
ค.ศ. 687 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 720 26 มกราคม ค.ศ. 724
  • โอรสของอับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน
  • อับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน เคาะลีฟฮ์อุมัยยฮ์
  • อาติกะฮ์ บินต์ ยะซีด
15 ฮิชาม อิบน์ อับดุลมะลิก
(هشام بن عبد الملك)
ค.ศ. 691 26 มกราคม ค.ศ. 724 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 743
  • โอรสของอับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน
  • อับดุลมะลิก อิบน์ มัรวาน เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
  • ฟาฏิมะฮ์ บินต์ ฮิชาม
16 อัลวะลีดที่ 2
(الوليد الثاني)
ค.ศ. 709 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 743 17 เมษายน ค.ศ. 744 (ถูกปลงพระชนม์)
  • โอรสของยะซีดที่ 2
  • พระนัดดาของฮิชาม อิบน์ อับดุลมะลิก
  • ยะซีดที่ 2 เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
17 ยะซีดที่ 3
(يزيد الثالث)
ค.ศ. 701 17 เมษายน ค.ศ. 744 3/4 ตุลาคม ค.ศ. 744
18 อิบรอฮีม อิบน์ อัลวะลีด
(ابراهيم ابن الوليد)
ค.ศ. 744 (ไม่กี่สัปดาห์) 25 มกราคม ค.ศ. 750
(สำเร็จโทษ)
19 มัรวานที่ 2
(مروان بن محمد)
ค.ศ. 691 ค.ศ. 744 6 สิงหาคม ค.ศ. 750
(ถูกปลงพระชนม์)
  • พระนัดดาของมัรวานที่ 1
  • มุฮัมมัด อิบน์ มัรวาน

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ (25 มกราคม ค.ศ. 750 – 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1258)

(ไม่ยอมรับโดยมุสลิมภายใต้การปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ในคาบสมุทรไอบีเรียใน ค.ศ. 756)[2][3]

# พระบรมฉายาลักษณ์/เหรียญ พระนามตอนครองราชย์ พระนามส่วนตัว ประสูติ ปกครองตั้งแต่ จนถึง สวรรคต พระราชบุพการี หมายเหตุ
20 อัซซัฟฟาฮ์ อับดุลลอฮ์ อบูลอับบาส ค.ศ. 721 ค.ศ. 750 10 มิถุนายน ค.ศ. 754
  • มุฮัมมัด อิบน์ อะลี อิบน์ อับดัลลอฮ์
  • ร็อยตะฮ์ อัลฮัรเซีย
21 อัลมันศูร อบูญะอ์ฟัร อับดัลลอฮ์ ค.ศ. 714 10 มิถุนายน ค.ศ. 754 ค.ศ. 775
  • มุฮัมมัด อิบน์ อะลี อิบน์ อับดัลลอฮ์
  • ซัลลามะฮ์
  • เป็นที่จดจำจากการฆ่าญะอ์ฟัร อัศศอดิก ผู้เป็นอิมามชีอะฮ์คนที่ 6 และนักนิติศาสตร์หลักของซุนนี[4]
22 อัลมะฮ์ดี อบูอับดัลลอฮ์ มุฮัมมัด ค.ศ. 744/745 ค.ศ. 775 4 สิงหาคม ค.ศ. 785
  • อัลมันศูร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ตั้งพระนามเป็นอัลมะฮ์ดี โดยอัลมันศูร เพื่อให้ความสนใจในพระราชกรณียกิจของพระองค์จากวงศ์อะลีดต่อราชวงศ์อับบาส[5]
23 อัลฮาดี อบูมุฮัมมัด มูซา ค.ศ. 764 สิงหาคม ค.ศ. 785 14 กันยายน ค.ศ. 786
  • อัลมะฮ์ดี เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • อัลค็อยซุรอน บินต์ อัฏฏออ์
24 อัรเราะชีด ฮารูน ค.ศ. 763/766 14 กันยายน ค.ศ. 786 24 มีนาคม ค.ศ. 809
  • อัลมะฮ์ดี เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • อัลค็อยซุรอน บินต์ อัฏฏออ์
25 อัลอะมีน มุฮัมมัด ค.ศ. 787 มีนาคม ค.ศ. 809 24/25 กันยายน ค.ศ. 813
  • ฮารูน อัรเราะชีด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ซุบัยดะฮ์ บินต์ ญะอ์ฟัร พระราชนัดดาของอัลมันศูร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
26 อัลมะอ์มูน อบูญะอ์ฟัร อับดัลลอฮ์ 13/14 กันยายน ค.ศ. 786 กันยายน ค.ศ. 813 9 สิงหาคม ค.ศ. 833
  • ฮารูน อัรเราะชีด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • มะรอญิล
27 อัลมุอ์ตะศิม อบูอิสฮาก มุฮัมมัด ตุลาคม ค.ศ. 796 9 สิงหาคม ค.ศ. 833 5 มกราคม ค.ศ. 842
  • ฮารูน อัรเราะชีด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • มาริดะฮ์
28 อัลวาษิก อบูญะอ์ฟัร ฮารูน ค.ศ. 811–813 5 มกราคม ค.ศ. 842 10 สิงหาคม ค.ศ. 847
  • อัลมุอ์ตะศิม เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • เกาะรอติส
29 อัลมุตะวักกิล ญะอ์ฟัร กุมภาพันธ์/มีนาคม ค.ศ. 822 10 สิงหาคม ค.ศ. 847 11 ธันวาคม ค.ศ. 861
(ถูกปลงพระชนม์)
  • อัลมุอ์ตะศิม เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ชุญาอ์
30 อัลมุนตะศิร อบูญะอ์ฟัร มุฮัมมัด พฤศจิกายน ค.ศ. 837 ค.ศ. 861 7 หรือ 8 มิถุนายน ค.ศ. 862
  • อัลมุตะวักกิล เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ครองราชย์ในช่วงอนาธิปไตยที่ซามัรรออ์ (ค.ศ. 861–870)
31 อัลมุสตะอีน อะฮ์มัด ค.ศ. 836 ค.ศ. 862 ค.ศ. 866 (สำเร็จโทษ)
  • มุฮัมมัด โอรสของอัลมุอ์ตะศิม เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
32 อัลมุอ์ตัซ ค.ศ. 847 ค.ศ. 866 ค.ศ. 869
  • อัลมุตะวักกิล เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
33 อัลมุฮตะดี อบูอิสฮาก มุฮัมมัด ค.ศ. 869 21 มิถุนายน ค.ศ. 870
  • อัลวาษิก เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • นางสนมชาวกรีก
34 อัลมุอ์ตะมิด อบูลอับบาส อะฮ์มัด ค.ศ. 842 21 มิถุนายน ค.ศ. 870 15 ตุลาคม 892
  • อัลมุตะวักกิล เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
35 อัลมุอ์ตะฏิด อบูลอับบาส อะฮ์มัด ค.ศ. 854/861 ตุลาคม ค.ศ. 892 5 เมษายน ค.ศ. 902
  • อัลมุวัฟฟัก อุปราชแห่งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ฎิรอร
  • พระนัดดาของอัลมุตะวักกิล เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
36 อัลมุกตะฟี อบูอะฮ์มัด อะลี ค.ศ. 877/878 5 เมษายน ค.ศ. 902 13 สิงหาคม ค.ศ. 908
  • อัลมุอ์ตะฏิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
37 อัลมุกตะดิร อบู อัลฟัดล์ ญะอ์ฟัร ค.ศ. 895 13 สิงหาคม ค.ศ. 908 ค.ศ. 929 31 ตุลาคม ค.ศ. 932
(ถูกปลงพระชนม์)
  • อัลมุอ์ตะฏิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
38 อัลกอฮิร อบูมันศูร มุฮัมมัด ค.ศ. 899 ค.ศ. 929 ค.ศ. 950
  • อัลมุอ์ตะฏิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
(37) อัลมุกตะดิร อบู อัลฟัดล์ ญะอ์ฟัร ค.ศ. 895 ค.ศ. 929 31 ตุลาคม ค.ศ. 932
(ถูกปลงพระชนม์)
  • อัลมุอ์ตะฏิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
(38) อัลกอฮิร อบูมันศูร มุฮัมมัด ค.ศ. 899 31 ตุลาคม ค.ศ. 932 ค.ศ. 934 ค.ศ. 950
  • อัลมุอ์ตะฏิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
39 อัรรอฎี อบู อัลอับบาส มุฮัมมัด ธันวาคม ค.ศ. 909 ค.ศ. 934 23 ธันวาคม ค.ศ. 940
  • อัลมุกตะดิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
40 อัลมุตตะกี อบูอิสฮาก อิบรอฮีม ค.ศ. 908 ค.ศ. 940 ค.ศ. 944 กรกฎาคม ค.ศ. 968
  • อัลมุกตะดิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • เคาะลูบ หรือ เซาะฮ์เราะฮ์
  • จุดเริ่มต้นของราชวงศ์อับบาซิยะฮ์ตอนปลาย
41 อัลมุสตักฟี อับดัลลอฮ์ ค.ศ. 905 กันยายน ค.ศ. 944 มกราคม ค.ศ. 946 กันยายน/ตุลาคม ค.ศ. 949
  • อัลมุกตะฟี เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
42 อัลมุฏีอ์ อบู อัลกอซิม อัลฟัฎล์ ค.ศ. 914 มกราคม ค.ศ. 946 ค.ศ. 974
  • อัลมุกตะดิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
43 อัฏฏออิอ์ ค.ศ. 932 ค.ศ. 974 ค.ศ. 991 3 สิงหาคม ค.ศ. 1003
  • อัลมุฏีอ์ เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
44 อัลกอดิร ค.ศ. 947 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 991 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1031
  • อิสฮาก อิบน์ เคาะลีฟะฮ์อัลมุกตะดิร
  • ตุมนะฮ์
45 อัลกออิม ค.ศ. 1001 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1031 2 เมษายน ค.ศ. 1075
  • อัลกอดิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
46 อัลมุกตะดี ค.ศ. 1056 2 เมษายน ค.ศ. 1075 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1094
  • มุฮัมมัด โอรสของอัลกออิม เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • อุรญุมาน นางสนมชาวอาร์มีเนีย
47 อัลมุสตัซฮิร เมษายน/พฤษภาคม ค.ศ. 1078 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1094 6 สิงหาคม ค.ศ. 1118
  • อัลมุกตะดี เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
48 อัลมุสตัรชิด เมษายน/พฤษภาคม ค.ศ. 1092 6 สิงหาคม ค.ศ. 1118 29 สิงหาคม ค.ศ. 1135
  • อัลมุซตัซฮิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
49 อัรรอชิด ค.ศ. 1109 29 สิงหาคม ค.ศ. 1135 ค.ศ. 1136 6 มิถุนายน ค.ศ. 1138
(ถูกปลงพระชนม์โดยแอสซาสซิน)
  • อัลมุสตัรชิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
50 อัลมุกตะฟี 9 มีนาคม ค.ศ. 1096 ค.ศ. 1136 12 มีนาคม ค.ศ. 1160
  • อัลมุซตัซฮิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
51 อัลมุสตันญิด ค.ศ. 1124 12 มีนาคม ค.ศ. 1160 20 ธันวาคม ค.ศ. 1170
  • อัลมุกตะฟี เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ษาวุส
52 อัลมุสตะฎีอ์ ฮัสซัน ค.ศ. 1142 20 ธันวาคม ค.ศ. 1170 30 มีนาคม ค.ศ. 1180
  • อัลมุสตันญิด เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
53 อันนาศิร 6 สิงหาคม ค.ศ. 1158 2 มีนาคม ค.ศ. 1180 4 ตุลาคม ค.ศ. 1225
  • อัลมุสตะฎีอ์ เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • ซุมูรรุด นางสนม
54 อัซซอฮิร ค.ศ. 1176 5 ตุลาคม ค.ศ. 1225 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1226
  • อันนาศิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
55 อัลมุสตันซิร อบูญะอ์ฟัร 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1192 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1226 2 ธันวาคม ค.ศ. 1242
  • อัซซอฮิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
56 อัลมุสตะอ์ศิม ค.ศ. 1213 2 ธันวาคม ค.ศ. 1242 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1258
  • อัลมุสตันซิร เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์
  • เคาะลีฟะฮ์อับบาซิยะฮ์องค์สุดท้าย
ช่วงว่างระหว่างรัชกาล
  • พวกมองโกลปล้นสะดมที่แบกแดด

ในช่วงปัจฉิมยามของการปกครองของอับบาซิยะฮ์ ผู้นำมุสลิมเริ่มใช้คำนำหน้าอื่น เช่น สุลต่าน

ราชวงศ์อับบาซิยะฮ์ของมัมลูก (ค.ศ. 1261 – 1517)

เคาะลีฟะฮ์แห่งไคโร (13 มิถุนายน ค.ศ. 1261 – 22 มกราคม ค.ศ. 1517)

พวกอับบาซิยะฮ์ในไคโรกลายเป็นเคาะลีฟะฮ์ตามพิธี ภายใต้การคุ้มครองของรัฐสุลต่านมัมลูกที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากการยึดครองราชวงศ์อัยยูบิด[6][7]

# พระนามตอนครองราชย์ พระนามส่วนตัว ครองราชย์ พระราชบุพการี หมายเหตุ
57 อัลมุสตันศิร อบู อัลกอซิม อะฮ์มัด 13 มิถุนายน ค.ศ. 1261 – 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1261
  • อัซซอฮิร
  • ถูกแต่งตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์ในไคโรโดยสุลต่านมัมลูกใน ค.ศ. 1261
  • ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ถูกอ้างโดยอัลฮากิมที่ 1 ซึ่งถูกแต่งตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์โดยผู้ปกครองอะเลปโป
58 อัลฮากิมที่ 1 อบู อับดุลลอฮ์ มุฮัมมัด 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1262 – 19 มกราคม ค.ศ. 1302
  • อบู อะลี อัลฮะซัน
  • พระราชปนัดดาของอัลมุสตัรชิด
  • ถูกแต่งตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์โดยผู้ปกครองอะเลปโปใน ค.ศ. 1261
  • อ้างตนเองเป็นเคาะลีฟะฮ์โดยสุลต่านมัมลูกหลังจากอัลมุสตันศิรที่ 2 สวรรคต
59 อัลมุสตักฟีที่ 1 อบู อัรรอบิอ์ สุลัยมาน 20 มกราคม ค.ศ. 1302 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1340
  • อัลฮากิมที่ 1
60 อัลวาษิกที่ 1 อบู อิสฮาก อิบรอฮีม กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1340 – 17 มิถุนายน ค.ศ. 1341
  • มุฮัมมัด โอรสของอัลฮากิมที่ 1
61 อัลฮากิมที่ 2 อบู อัลอับบาส อะฮ์มัด ค.ศ. 1341 – 1352
  • อัลมุสตักฟีที่ 1
62 อัลมุอ์ตะฎิรที่ 1 อบู บักร์ ค.ศ. 1352 – 1362
  • อัลมุสตักฟีที่ 1
63 อัลมุตะวักกิลที่ 1 อบู อับดิลลาฮ์ มุฮัมมัด ค.ศ. 1362 – 1377
  • อัลมุอ์ตะฎิรที่ 1
64 อัลมุสตะอ์ซิม อบู ยะฮ์ยา ซะกะริยา ค.ศ. 1377
  • อัลวาษิกที่ 1
(63) อัลมุตะวักกิลที่ 1 อบู อับดิลลาฮ์ มุฮัมมัด ค.ศ. 1377 – 1383
  • อัลมุอ์ตะฎิรที่ 1
65 อัลวาษิกที่ 2 อุมัร กันยายน ค.ศ. 1383 – 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1386
  • อัลวาษิกที่ 1
(64) อัลมุสตะอ์ซิม อบู ยะฮ์ยา ซะกะริยา ค.ศ. 1386 – 1389
  • อัลวาษิกที่ 1
(63) อัลมุตะวักกิลที่ 1 อบู อับดิลลาฮ์ มุฮัมมัด ค.ศ. 1389 – 9 มกราคม ค.ศ. 1406
  • อัลมุอ์ตะฎิรที่ 1
66 อัลมุสตะอีน อบู อัลฟัดล์ อัลอับบาส 22 มกราคม ค.ศ. 1406 – 9 มีนาคม ค.ศ. 1414
  • อัลมุตะวักกิลที่ 1
  • บัยเคาะตุน
  • กลายเป็นสุลต่านแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1412 ถึง 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1412
67 อัลมุอ์ตะฎิรที่ 2 อบู อัลฟัตฮ์ ดาวุด ค.ศ. 1414 – 1441
  • อัลมุตะวักกิลที่ 1
  • กะซัล
68 อัลมุสตักฟีที่ 2 อบู อัรรอบิอ์ สุลัยมาน ค.ศ. 1441 – 29 มกราคม ค.ศ. 1451
  • อัลมุตะวักกิลที่ 1
69 อัลกออิม อบู อัลบะกอ ฮัมซะฮ์ ค.ศ. 1451 – 1455
  • อัลมุตะวักกิลที่ 1
70 อัลมุสตันญิด อบู อัลมะฮาซิน ยูซุฟ ค.ศ. 1455 – 7 เมษายน ค.ศ. 1479
  • อัลมุตะวักกิลที่ 1
71 อัลมุตะวักกิลที่ 2 อบู อัลอิซซ์ อับดุลอะซีซ 5 เมษายน ค.ศ. 1479 – 27 กันยายน ค.ศ. 1497
  • ยะอ์กูบ อิบน์ อัลมุตะวักกิลที่ 1
  • ฮัจญ์ อัลมะลิก
72 อัลมุสตัมซิิก อบู อัศศ็อบร์ ค.ศ. 1497 – 1508
  • อัลมุตะวักกิลที่ 2
73 อัลมุตะวักกิลที่ 3 มุฮัมมัด ค.ศ. 1508 – 1516
  • อัลมุสตัมซิิก
(72) อัลมุสตัมซิิก อบู อัศศ็อบร์ ค.ศ. 1516 – 1517
  • อัลมุตะวักกิลที่ 2
(73) อัลมุตะวักกิลที่ 3 มุฮัมมัด ค.ศ. 1517
  • อัลมุสตัมซิิก
  • พระองค์ยอมยกตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์และยกดาบกับเสื้อคลุมของมุฮัมมัดให้สุลต่านเซลิมที่ 1 สุลต่านออตโตมันใน ค.ศ. 1517 ทำให้พระองค์เป็นเคาะลีฟะฮ์องค์สุดท้ายจากราชวงศ์อับบาซิยะฮ์และบนูกุเรช

รัฐเคาะลีฟะฮ์ออตโตมัน (ค.ศ. 1517 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1924)

ตามปกติ ผู้นำราชวงศ์ออตโตมันจะมีตำแหน่ง สุลต่าน นำหน้า แต่จากนั้นเริ่มใช้ตำแหน่งเฉพาะสำหรับบางพระองค์[8][9] สุลต่านมูรัดที่ 1 (ครองราชย์ ค.ศ. 1362–1389) เป็นพระองค์แรกที่ใช้คำนำหน้าเป็นเคาะลีฟะฮ์ โดยอ้างว่าใช้ตำแหน่งนี้หลังจากพิชิตเอดีร์แน[10]

# พระบรมฉายาลักษณ์ ตราพระปรมาภิไธยทูกรา พระนาม ครองราชย์ พระราชบุพการี หมายเหตุ
74 Tughra of Selim I สุลต่านเซลิมที่ 1 ค.ศ. 1517 – 21 กันยายน ค.ศ. 1520
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[11]
75 Tughra of Suleiman I สุลต่านสุลัยมานที่ 1 30 กันยายน ค.ศ. 1520 – 6 หรือ 7 กันยายน ค.ศ. 1566
  • สุลต่านเซลิมที่ 1
  • ฮัฟซา สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[12]
76 Tughra of Selim II สุลต่านเซลิมที่ 2 29 กันยายน ค.ศ. 1566 – 21 ธันวาคม ค.ศ. 1574
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[13]
77 Tughra of Murad III สุลต่านมูรัดที่ 3 22 ธันวาคม ค.ศ. 1574 – 16 มกราคม ค.ศ. 1595
  • สุลต่านเซลิมที่ 2
  • นูร์บานู สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[14]
78 Tughra of Mehmed III สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 3 27 มกราคม ค.ศ. 1595 – 20 หรือ 21 ธันวาคม ค.ศ. 1603
  • สุลต่านมูรัดที่ 3
  • ซาฟีเย สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[15]
79 Tughra of Ahmed I สุลต่านอาเหม็ดที่ 1 21 ธันวาคม ค.ศ. 1603 – 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1617
  • สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 3
  • ฮันดัน สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[16]
80 Tughra of Mustafa I สุลต่านมุสทาฟาที่ 1 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1617 – 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1618
  • สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 3
  • ฮาลีเม สุลต่าน
81 Tughra of Osman II สุลต่านออสมันที่ 2 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1618 – 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1622
  • สุลต่านอาเหม็ดที่ 1
  • มาฮ์ฟีรูส ฮาตุน
  • ถูกถอดถอนจากกบฏเจนิสซารีย์ในวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1622;
  • ถูกปลงพระชนม์ในวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1622 โดยมหาเสนาบดีคารา ดาวุด ปาชา (ดาวุด ปาชาดำ) โดยการกดลูกอัณฑะของพระองค์[18]
(80) Tughra of Mustafa I สุลต่านมุสทาฟาที่ 1 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1622 – 10 กันยายน ค.ศ. 1623
  • สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 3
  • ฮาลีเม สุลต่าน
82 Tughra of Murad IV สุลต่านมูรัดที่ 4 10 กันยายน ค.ศ. 1623 – 8 หรือ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1640
  • สุลต่านอาเหม็ดที่ 1
  • กือเซ็ม สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[19]
83 Tughra of Ibrahim สุลต่านอิบราฮีม 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1640 – 8 สิงหาคม ค.ศ. 1648
  • ถูกถอดถอนในวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1648 จากรัฐประหารที่นำโดยชัยคุลอิสลาม;
  • ถูกรัดพระศอที่อิสตันบูลในวันที่ 18 สิงหาคม ค.ศ. 1648[20] ตามคำสั่งของมหาเสนาบดี เมฟเลวี เมห์เหม็ด ปาชา
84 Tughra of Mehmed IV สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 4 8 สิงหาคม ค.ศ. 1648 – 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1687
  • สุลต่านอิบราฮีม
  • ตูร์ฮัน สุลต่าน
  • ถูกถอดถอนในวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1687 หลังจากออตโตมันพ่ายแพ้ในยุทธการที่โมฮัตช์ครั้งที่สอง;
  • สวรรคตที่เอดีร์แนในวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1693[21]
85 Tughra of Suleiman II สุลต่านสุลัยมานที่ 2 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1687 – 22 มิถุนายน ค.ศ. 1691
  • สุลต่านอิบราฮีม
  • อาชุบ สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[22]
86 Tughra of Ahmed II สุลต่านอาเหม็ดที่ 2 22 มิถุนายน ค.ศ. 1691 – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1695
  • สุลต่านอิบราฮีม
  • มุอัซเซซ สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[23]
87 Tughra of Mustafa II สุลต่านมุสทาฟาที่ 2 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1695 – 22 สิงหาคม ค.ศ. 1703
  • สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 4
  • กืลนุช สุลต่าน
  • ถูกถอดถอนในวันที่ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1703 ด้วยเหตุผลการลุกฮือของเจนิสซารีย์ที่รู้จักกันในชื่อเหตุการณ์ที่เอดีร์แน;
  • สวรรคตที่อิสตันบูลในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1704[24]
88 Tughra of Ahmed III สุลต่านอาเหม็ดที่ 3 22 สิงหาคม ค.ศ. 1703 – 1 หรือ 2 ตุลาคม ค.ศ. 1730
  • สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 4
  • กืลนุช สุลต่าน
  • ถูกถอดถอนจากผลของการก่อกบฏเจนิสซารีย์ที่นำโดยปาโตรนา ฮาลิล;
  • สวรรคตในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1736[25]
89 Tughra of Mahmud I สุลต่านมาห์มูดที่ 1 2 ตุลาคม ค.ศ. 1730 – 13 ธันวาคม ค.ศ. 1754
  • สุลต่านมุสทาฟาที่ 2
  • ซาลิฮา สุลต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[26]
90 Tughra of Osman III สุลต่านออสมันที่ 3 13 ธันวาคม ค.ศ. 1754 – 29 หรือ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1757
  • สุลต่านมุสทาฟาที่ 2
  • เชฮ์ซูวาร์ สุชต่าน
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[27]
91 Tughra of Mustafa III สุลต่านมุสทาฟาที่ 3 30 ตุลาคม ค.ศ. 1757 – 21 มกราคม ค.ศ. 1774
  • สุลต่านอาเหม็ดที่ 3
  • มีฮีรีชาฮ์ คาดึน;
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[28]
92 Tughra of Abdülhamid I สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 1 21 มกราคม ค.ศ. 1774 – 6 หรือ 7 เมษายน ค.ศ. 1789
  • โอรสของสุลต่านอาเหม็ดที่ 3
  • เชอร์มี คาดึน;
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[29]
93 Tughra of Selim III สุลต่านเซลิมที่ 3 7 เมษายน ค.ศ. 1789 – 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1807
  • สุลต่านมุสทาฟาที่ 3
  • มิฮ์รีชาฮ์ สุลต่าน;
  • ถูกถอดถอนจากผลของการก่อกบฏเจนิสซารีย์ที่นำโดยKabakçı Mustafa;
  • ถูกปลงพระชนม์ที่อิสตันบูลในวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1808[30] โดยสุลต่านมุสทาฟาที่ 4
94 Tughra of Mustafa IV สุลต่านมุสทาฟาที่ 4 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1807 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1808
  • สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 1
  • ซิเนอเปอร์แวร์ สุลต่าน
  • ถูกถอดถอนจากการจลาจลที่นำโดยAlemdar Mustafa Pasha;
  • สำเร็จโทษที่อิสตันบูลในวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1808[31] ตามคำสั่งของสุลต่านมะห์มูดที่ 2.
95 Tughra of Mahmud II สุลต่านมะห์มูดที่ 2 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1808 – 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1839
  • สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 1
  • นักชีดิล สุชต่าน
  • ยุบเจนิสซารีย์จากผลที่ตามมาในเหตุการณ์มหามงคล ค.ศ. 1826;
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[32]
96 Tughra of Abdülmecid I สุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1839 – 25 มิถุนายน ค.ศ. 1861
  • สุลต่านมะห์มูดที่ 2
  • เบซมีอาเลิม สุลต่าน;
  • ประกาศพระบรมราชโองการแห่งกืลฮาเน (Tanzimât Fermânı) ซึ่งทำให้เกิดตันซีมาต สมัยแห่งการปฏิรูปและปรับโครงสร้างองค์กรในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1839 ตามคำสั่งนักปฏิรูป แกรนด์วิเชียร์ Great Mustafa Rashid Pasha;
  • รับรองIslâhat Hatt-ı Hümayun (พระบรมราชโองการ) (Islâhat Fermânı) ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856;
  • ครองราชย์จนกระทั่งสวรรคต[33]
97 Tughra of Abdulaziz สุลต่านอับดุล อะซีซ 25 มิถุนายน ค.ศ. 1861 – 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1876
  • สุลต่านมะห์มูดที่ 2
  • เปอร์เตฟนียาล สุลต่าน;
  • ถูกถอดถอนโดนรัฐมนตรีของพระองค์;
  • 5 วันต่อมาพบว่าสวรรคต (ฆ่าตัวตายหรือปลงพระชนม์)[34]
98 Tughra of Murad V สุลต่านมูรัดที่ 5 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1876 – 31 สิงหาคม ค.ศ. 1876
  • สุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1
  • เชฟเกฟซา คาดึน;
  • ถูกถอดถอนเนื่องจากพระองค์ดำเนินการปฏิรูปประชาธิปไตยในจักรวรรดิของพระองค์;
  • ถูกสั่งให้อยู่ที่ Çırağan Palace แล้วสวรรคตในวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1904[35]
99 Tughra of Abdülhamid II สุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 31 สิงหาคม ค.ศ. 1876 – 27 เมษายน ค.ศ. 1909
  • สุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1
  • ตีรีมืจกาน คาดึน
  • มีพระราชานุญาตอย่างไม่เต็มพระทัยให้ตั้งสมัยรัฐธรรมนูญที่ 1 ในวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1876 และยกเลิกในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878;
  • ถูกบังคับให้ฟื้นฟูสมัยรัฐธรรมนูญที่ 2 ในวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1908;
  • ถูกถอดถอนหลังจากอุบัติการณ์ 31 มีนาคม (ในวันที่ 13 เมษายน ค.ศ. 1909);
  • ถูกคุมขังที่Beylerbeyi Palace แล้วสวรรคตในวันที่ 10 กมภาพันธ์ ค.ศ. 1918[36]
100 Tughra of Mehmed V สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 5 27 เมษายน ค.ศ. 1909 – 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1918
  • สุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1
  • กืลเซมาล คาดึน;
  • ครองราชย์ในฐานะหุ่นเชิดของMehmed Talât, İsmail Enver และAhmed Cemal (Djemal) ปาชา จนสวรรคต[37]
101 Tughra of Mehmed VI สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 – 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922
  • สุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1
  • กือลืสตือ ฮานึม;
102
[c]
สุลต่านอับดุล เมจิดที่ 2 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922 – 3 มีนาคม ค.ศ. 1924
  • สุลต่านอับดุล อะซีซ
  • เฮย์รานิดิล คาดึน;[39]

สำนักงานของรัฐเคาะลีฟะฮ์ออตโตมัน ซึ่งถูกยุบในวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 1924 ถูกย้ายไปที่ Grand National Assembly of Turkey; เพื่อดำเนินไปตามฆราวาสนิยมในช่วงต้นของสาธารณรัฐตุรกีโดยประธานาธิบดี มุสทาฟา เคมัล อาทาทืร์ค

หลังรัฐเคาะลีฟะฮ์ถูกยุบ ทาง Grand National Assembly of Turkey ได้ก่อตั้ง Presidency of Religious Affairs ในฐานะศูนย์อำนาจทางศาสนาอิสลามสูงสุดในประเทศ

เคาะลีฟะฮ์ที่ไม่ค่อยรู้จักโดยทั่วไป

รัฐเคาะลีฟะฮ์ที่ไม่ยอมรับอย่างถูกกฎหมายโดยมุสลิมส่วนใหญ่

รัฐเคาะลีฟะฮ์ของอิบน์ ซุบัยร์ (ค.ศ.684–692)

ดิรฮัมเงินของอับดุลลอฮ์ อิบน์ ซุบัยร์

อับดุลลอฮ์ อิบน์ ซุบัยร์ หลานชายของอาอิชะฮ์ ภรรยาคนที่ 3 ของมุฮัมมัด ได้ก่อกบฏต่อรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ใน ค.ศ. 684 เขาอ้างตนเองเป็นเคาะลีฟะฮ์ในมักกะฮ์ แต่กลับพ่ายแพ้และถูกฆ่าใน ค.ศ. 692 หลังแม่ทัพอัลฮัจญาจ อิบน์ ยูซุฟ ล้อมเมืองเป็นเวลา 6 เดือน[42]

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์แห่งกอร์โดบา (ค.ศ. 929–1031)

(ไม่ค่อยยอมรับอย่างกว้างขวาง; มีอำนาจในประเทศสเปนและบางส่วนของมัฆริบ)[43][44]

พระนาม ครองราชย์ พระราชบุพการี หมายเหตุ
อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 ค.ศ. 929–961
  • มุฮัมมัด อิบน์ อับดุลลอฮ์ โอรสของอับดุลลอฮ์ อิบน์ มุฮัมมัด อัลอุมะวี เอมีร์แห่งกอร์โดบา
  • มุซนา
  • ลูกหลานของฮิชาม อิบน์ อับดุลมะลิก เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์
อัลฮะกัมที่ 2 ค.ศ. 961–976
  • อับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • มุรญัน
ฮิชามที่ 2 ค.ศ. 976–1009
  • อัลฮะกัมที่ 2
  • ศุบฮ์
มุฮัมมัดที่ 2 ค.ศ. 1009
  • ฮิชาม อิบน์ อับดุลญับบาร อิบน์ อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • มุซนา
สุลัยมาน อิบน์ อัลฮะกัม ค.ศ. 1009–1010
  • อัลฮะกัม อิบน์ สุลัยมาน อิบน์ อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • ษาบิยะฮ์
ฮิชามที่ 2 ค.ศ. 1010–1013
  • อัลฮะกัมที่ 2
  • ศุบฮ์
สุลัยมาน อิบน์ อัลฮะกัม ค.ศ. 1013–1016
  • อัลฮะกัม อิบน์ สุลัยมาน อิบน์ อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • ษาบิยะฮ์
อับดุรเราะฮ์มานที่ 4 ค.ศ. 1021–1022
  • โมฮัมเหม็ด พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
อับดุรเราะฮ์มานที่ 5 ค.ศ. 1022–1023
  • ฮิชาม อิบน์ อับดุลญับบาร อิบน์ อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • เฆาะละฮ์
มุฮัมมัดที่ 3 1023–1024
  • อับดุรเราะฮ์มาน อิบน์ อุบัยดุลอฮ์ อิบน์ อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • เฮาระฮ์
ฮิชามที่ 3 ค.ศ. 1027–1031
  • มุฮัมมัด อิบน์ อับดุลมะลิก อิบน์ อับดุรเราะฮ์มานที่ 3 พระนัดดาของอับดุรเราะฮ์มานที่ 3
  • อะตีบ

รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาฏิมียะฮ์ (ค.ศ.909–1171)

รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาฏิมียะฮ์

(พวกฟาฏิมียะฮ์นับถือชีอะฮ์อิสมาอีลียะฮ์ที่อ้างว่าเป็นลูกหลานของฟาฏิมะฮ์ ลูกสาวของมุฮัมมัด และฝ่ายซุนนีถือว่าเป็นพวกนอกรีต การอ้างเป็นเคาะลีฟะฮ์ของพวกเขาไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับอย่างถูกกฎหมายในฐานะผู้สืบทอดตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ผ่านทางมุฮัมมัดโดยอุมมะฮ์มุสลิม เพราะไม่มีหลักฐานว่าพวกเขาเป็นลูกหลานของฟาฏิมะฮ์จริง ๆ)[45][46]

พระนาม ครองราชย์ พระราชบุพการี หมายเหตุ
อับดัลลอฮ์ อัลมะฮ์ดี บิลลาฮ์ ค.ศ. 909–934
อัลกออิม บิอัมริลลาฮ์ ค.ศ. 934–946
  • อับดัลลอฮ์ อัลมะฮ์ดี บิลลาฮ์
อัลมันศูร บิลลาฮ์ ค.ศ. 946–953
  • อัลกออิม บิอัมริลลาฮ์
อัลมุอิซซ์ ลิดีนัลลอฮ์ ค.ศ. 953–975
  • อัลมันศูร บิลลาฮ์
ประเทศอียิปต์ถูกครอบครองในรัชสมัยนี้
อัลอะซีซ บิลลาฮ์ ค.ศ. 975–996
  • อัลมุอิซซ์ ลิดีนัลลอฮ์
อัลฮากิม บิอัมริลลาฮ์ ค.ศ. 996–1021
  • อัลอะซีซ บิลลาฮ์
อะลี อัซซอฮิร ค.ศ. 1021–1036
อัลมุสตันศิร บิลลาฮ์ ค.ศ. 1036–1094
  • อะลี อัซซอฮิร
อัลมุสตะอ์ลี ค.ศ. 1094–1101 ความขัดแย้งในการสืบทอดนำมาสู่การแยกตัวของนิซารี
อัลอามิร บิอะฮ์กามัลลอฮ์ ค.ศ. 1101–1130
  • อัลมุสตะอ์ลี
ผู้นำราชวงศ์ฟาฏิมียะฮ์ยุคหลังไม่ถือว่าพระองค์เป็นอิมามโดยมุสตะอ์ลีอิสมาอีลี
อัลฮาฟิซ ค.ศ. 1130–1149
อัซซอฟิร ค.ศ. 1149–1154
  • อัลฮาฟิซ
อัลฟาอิซ ค.ศ. 1154–1160
  • อัซซอฟิร
อัลอาฎิด ค.ศ. 1160–1171
  • ยูซุฟ โอรสของอัลฮาฟิซ

รัฐเคาะลีฟะฮ์อัลโมฮาด (ค.ศ. 1145–1269)

รัฐเคาะลีฟะฮ์อัลโมฮาดในช่วงแผ่ไพศาลที่สุด (ป. ค.ศ. 1200)

(ไม่ค่อยยอมรับอย่างกว้างขวาง อาณาจักรจริงกินพื้นที่แค่บางส่วนของแอฟริกาเหนือและคาบสมุทรไอบีเรีย)[47][48]

พระนาม ครองราชย์ หมายเหตุ
อับดุลมุอ์มิน ค.ศ. 1145–1163
อบูยะอ์กูบ ยูซุฟที่ 1 ค.ศ. 1163–1184
ยะอ์กูบ อัลมันศูร ค.ศ. 1184–1199
มุฮัมมัด อันนาศิร ค.ศ. 1199–1213
อบูยะอ์กูบ ยูซุฟที่ 2 ค.ศ. 1213–1224
อับดุลวาฮิดที่ 1 ค.ศ. 1224
อับดัลลอฮ์ อัลอาดิล ค.ศ. 1224–1227
ยะฮ์ยา ค.ศ. 1227–1235
อิดรีสที่ 1 ค.ศ. 1227–1232
อับดุลวาฮิดที่ 2 ค.ศ. 1232–1242
อะลี ค.ศ. 1242–1248
อุมัร ค.ศ. 1248–1266
อิดรีสที่ 2 ค.ศ. 1266–1269

รัฐเคาะลีฟะฮ์กุรฏุบะ (929–1031)

(ไม่ค่อยยอมรับอย่างกว้างขวาง อาณาจักรจริงกินพื้นที่ในสเปนและส่วนหนึ่งของมาเกร็บ)[49][50]

พระนาม ครองราชย์ หมายเหตุ
อับดุลเราะห์มานที่ 3 929–961
  • สืบเชื้อสายจากฮิชาม อิบน์ อับด์ อัล-มาลิก เคาะลีฟะฮ์แห่งอุมัยยะฮ์
อัล-ฮะกัมที่ 2 961–976
ฮิชามที่ 2 อัล-ฮะกัม 976–1009
มูฮัมหมัดที่ 2 1009
สุไลยมาน อิบน์ อัล-ฮะกัม 1009–1010
ฮิชามที่ 2 อัล-ฮะกัม 1010–1013
สุไลยมาน อิบน์ อัล-ฮะกัม 1013–1016
อับดุลเราะห์มานที่ 4 1021–1022
อับดุลเราะห์มานที่ 5 1022–1023
มูฮัมหมัดที่ 3 1023–1024
ฮิชามที่ 3 1027–1031

รัฐเคาะลีฟะฮ์ที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปหลัง ค.ศ. 1900

ตั้งแต่จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายเป็นต้นมา ไม่มีรัฐเคาะลีฟะฮ์ใดเลยที่ "รู้จักโดยทั่วไป"

รัฐเคาะลีฟะฮ์ชะรีฟ (ค.ศ.1924–1925)

แผนที่อาณาจักรเป็นสีเขียวและแคว้นในปัจจุบันเป็นเส้นสีแดง

ฮุซัยน์ อิบน์ อะลี, กษัตริย์แห่งฮิญาซและชะรีฟแห่งมักกะฮ์ได้พยายามฟื้นฟูตำแหน่งและรูปแบบการปกครองของเคาะลีฟะฮ์ในวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 1924 ถึง 3 ตุลาคม ค.ศ. 1924 เมื่อพระองค์ถ่ายโอนอำนาจให้กับอะลี อิบน์ อัลฮุซัยน์ อัลฮาชิมี โอรสของพระองค์ที่ไม่ดำเนินตามตำแหน่งและรูปแบบการปกครองนี้[51] ถึงแม้ว่าการอ้างเป็นเคาะลีฟะฮ์ของฮุซัยน์ไม่เป็นที่ยอมรับ และใน ค.ศ. 1925 พระองค์ถูกขับออกจากฮิญาซโดยกองทัพสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด เนื่องจากไม่ค่อยสนับสนุนกฎชะรีอะฮ์ พระองค์ยังคงใช้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ต่อในช่วงที่ถูกเนรเทศ จนสวรรคตใน ค.ศ. 1931

การกลับมาของรัฐเคาะลีฟะฮ์อิสลาม (ค.ศ. 2014–ปัจจุบัน)

ณ วันที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 2014 รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ประกาศการกลับมาของรัฐเคาะลีฟะฮ์อิสลาม โดยมีอะบู บักร์ อิบรอฮีม เอาวาด อิบรอฮีม อะลี อัลบัดรี อัสซามรออี อัลบัฆดาดี เป็นเคาะลีฟะฮ์คนแรก[52][53] และรัฐเคาะลีฟะฮ์มีประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 12 ล้านคนในพื้นที่วิลายัต อัลอิรัก กับวิลายัต อัชชาม และอีกจำนวนมากใน วิลายัต ฆ็อรบ์อิฟรีกียะฮ์ (รัฐแอฟริกาตะวันตก), วิลายัต ชัรก์อาซิยา (รัฐเอเชียเหนือ), วิลายัต คุเราะซาน, วิลายัต วะซัตอิฟรีกียะฮ์ (รัฐแอฟริกากลาง), วิลายัต อัลยะมัน (รัฐเยเมน) และวิลายัต ซินาอ์ (รัฐไซนาย)[54] ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐอิสลาม[55][ไม่อยู่ในแหล่งอ้างอิง]

ในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2015 อบู-บักร์ อัชเชเกา ทำสัญญากับรัฐอิสลามด้วยการส่งข้อความเสียง[56][57] หลังจากนั้น มีการสันนิษฐานว่าโบโกฮะรอมได้ใช้ชื่อ "วิลายะฮ์ ฆ็อรบ์อิฟรีกียะฮ์" (อาหรับ: ولاية غرب إفريقية, "จังหวัดแอฟริกาตะวันตก") หรือ "รัฐอิสลามแห่งแอฟริกาตะวันตก" (Islamic State of West Africa; ISWAP).[58]

อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 2018 ในระหว่างการชุมนุมของดอนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐ ไมก์ เพนซ์ รองประธานาธิบดีสหรัฐกล่าวถึงไอซิสว่า “ไอซิสกำลังหลบหนี รัฐเคาะลีฟะฮ์ของมันล่มสลาย และจะถูกลบจากการมีอยู่ในเร็ววัน"[59]

# เคาะลีฟะฮ์ วันเกิด ปกครองตั้งแต่ จนถึง
1 อะบู บักร์ อิบรอฮีม เอาวาด อิบรอฮีม อะลี อัลบัดรี อัสซามรออี อัลบัฆดาดี 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1971 29 มิถุนายน ค.ศ. 2014 27 ตุลาคม ค.ศ. 2019
2 อะบู อิบรอฮีม อัลฮาชิมี อัลกุเราะชี 1 หรือ 5 ตุลาคม 1976 31 ตุลาคม ค.ศ. 2019 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022
3 อะบู อัลฮะซัน อัลฮาชิมี อัลกุเราะชี ไม่ปรากฏ 10 มีนาคม ค.ศ. 2022 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022
4 อะบู อัลฮุสเซน อัลฮุสเซนี อัลกุเราะชี ไม่ปรากฏ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022 ปัจจุบัน

ไม่ยุ่งเกี่ยวการเมือง

รัฐเคาะลีฟะฮ์อะฮ์มะดียะฮ์ (ค.ศ. 1908–ปัจจุบัน)[nb 1]

ธงของประชาคมมุสลิมอะฮ์มะดียะฮ์

เคาะลีฟะตุลมะซีฮ์ (อาหรับ: خليفة المسيح; อูรดู: خلیفہ المسیح; อังกฤษ: Successor of the Messiah) หรือประชาคมเคาะลีฟะฮ์แห่งอะฮ์มะดียะฮ์[63] เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณและองค์กรของสังคมอะฮ์มะดียะฮ์ทั่วโลก และเป็นผู้สืบทอดของมิรซา ฆุลัม อะฮ์มัดแห่งกอดิยาน ผู้อ้างตนเองเป็นมะฮ์ดีกับเมสสิยาห์

หลังจากฆุลัม อะฮ์มัดเสียชีวิต ผู้สืบทอดยังอยู่ในศูนย์บัญชาการในกอดิยานต่อจนมีการก่อตั้งประเทศปากีสถานในปีค.ศ. 1947 ในตอนนั้นศูนย์บัญชากรอยู่ที่รับวะฮ์ แต่ในปีค.ศ. 1984 พระราชกฤษฎีกาที่ 20 ประกาศใช้โดยรัฐบาลปากีสถานไว้ไม่ให้เคาะลีฟะตุลมะซีฮ์ทำพิธีอย่างสงบและทำให้สถาบันตกอยู่ในอันตราย ด้วเหตุนี้ เคาะลีฟะตุลมะซีฮ์ที่ 4ต้องย้ายจากปากีสถานไปที่ลอนดอน, อังกฤษ และย้ายศูนย์บัญชาการไปที่มัสยิดฟัซล์[64]

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. มิรซา ฆุลัม อะฮ์มัด เป็นผู้ก่อตั้งนิกายอะฮ์มะดียะฮ์ ทั้งฝ่ายซุนนีและมุสลิมส่วนใหญ่ปฏิเสธนิกายนี้ เพราะเชื่อว่า มีศาสดาต่อจากศาสดามุฮัมมัด[60][61][62]

อ้างอิง

  1. "Imam Hassan as". Duas.org.
  2. Lane-Poole 2004, pp. 12–13
  3. Bosworth 2004, pp. 6–7
  4. Al-Mudaffar, Sheikh Muhammad Al-Hussein. Imam Jafar Sadiq. p. 291.
  5. ibn Maja (1368). al-Sunan, II.
  6. Bosworth 2004, p. 7
  7. Houtsma & Wensinck 1993, p. 3
  8. Lane-Poole 2004, p. 195
  9. Bosworth 2004, pp. 239–240
  10. Lambton, Ann; Lewis, Bernard (1995). The Cambridge History of Islam: The Indian sub-continent, South-East Asia, Africa and the Muslim west. Vol. 2. Cambridge University Press. p. 320. ISBN 9780521223102. สืบค้นเมื่อ 14 March 2015.
  11. "Yavuz Sultan Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  12. "Kanuni Sultan Süleyman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  13. "Sultan II. Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  14. "Sultan III. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  15. "Sultan III. Mehmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  16. "Sultan I. Ahmed". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  17. 17.0 17.1 "Sultan I. Mustafa". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  18. "Sultan II. Osman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  19. "Sultan IV. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  20. "Sultan İbrahim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  21. "Sultan IV. Mehmed". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  22. "Sultan II. Süleyman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  23. "Sultan II. Ahmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  24. "Sultan II. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  25. "Sultan III. Ahmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  26. "Sultan I. Mahmud Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  27. "Sultan III. Osman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  28. "Sultan III. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  29. "Sultan I. Abdülhamit Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  30. "Sultan III. Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  31. "Sultan IV. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  32. "Sultan II. Mahmud Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  33. "Sultan Abdülmecid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  34. "Sultan Abdülaziz Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  35. "Sultan V. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  36. "Sultan II. Abdülhamid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  37. "Sultan V. Mehmed Reşad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  38. "Sultan VI. Mehmed Vahdettin Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
  39. As̜iroğlu 1992, p. 13
  40. As̜iroğlu 1992, p. 17
  41. As̜iroğlu 1992, p. 14
  42. Dictionary of Battles and Sieges: F-O edited by Tony Jacques
  43. Lane-Poole 2004, p. 21
  44. Bosworth 2004, p. 11
  45. Lane-Poole 2004, p. 71
  46. Bosworth 2004, p. 63
  47. Lane-Poole 2004, p. 47
  48. Bosworth 2004, p. 39
  49. Lane-Poole 2004, p. 21
  50. Bosworth 2004, p. 11
  51. Bosworth 2004, p. 118
  52. Adam Withnall (2014-06-30). "Iraq crisis: Isis declares its territories a new Islamic state with 'restoration of caliphate' in Middle East - Middle East - World". The Independent. สืบค้นเมื่อ 2014-07-04.
  53. "ISIS Spokesman Declares Caliphate, Rebrands Group as "Islamic State"". SITE Institute. 29 June 2014. สืบค้นเมื่อ 29 June 2014.
  54. "Islamic State-controlled parts of Syria, Iraq largely out of reach: Red Cross". 13 March 2015 – โดยทาง Reuters.
  55. Yusuf al-Qaradawi stated: "[The] declaration issued by the Islamic State is void under sharia and has dangerous consequences for the Sunnis in Iraq and for the revolt in Syria", adding that the title of caliph can "only be given by the entire Muslim nation", not by a single group. Strange, Hannah (5 July 2014). "Islamic State leader Abu Bakr al-Baghdadi addresses Muslims in Mosul". The Telegraph. สืบค้นเมื่อ 6 July 2014.
  56. "Nigeria's Boko Haram pledges allegiance to Islamic State". BBC news. BBC. 2015-03-07. สืบค้นเมื่อ 2015-03-07.
  57. Adam Chandler (March 9, 2015). "The Islamic State of Boko Haram? :The terrorist group has pledged its allegiance to ISIS. But what does that really mean?". The Atlantic.
  58. "Africa blog: Islamic State strengthens ties with Boko Haram". BBC News. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015.
  59. Trump TV Network (2018-05-10), FULL EVENT: President Donald Trump MASSIVE Rally in Elkhart, Indiana - May 10, 2018, สืบค้นเมื่อ 2018-05-12. See 6:00
  60. "Ahmadis - Oxford Islamic Studies Online". www.oxfordislamicstudies.com (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-23. สืบค้นเมื่อ 2018-09-03. Controversial messianic movement founded by Mirza Ghulam Ahmad in Qadian, Punjab (British-controlled India), in 1889. Founder claimed to be a “nonlegislating” prophet (thus not in opposition to the mainstream belief in the finality of Muhammad 's “legislative” prophecy) with a divine mandate for the revival and renewal of Islam ...
  61. "The Ahmadiyyah Movement - Islamic Studies - Oxford Bibliographies - obo" (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-09-03.
  62. "Ghulam Ahmad, Mirza - Oxford Islamic Studies Online". www.oxfordislamicstudies.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-09-08. Founder of Ahmadi movement in Punjab, India, in 1889... The movement is labeled non-Muslim and fiercely opposed by Muslims, although the group considers itself Muslim.
  63. http://www.caliphofislam.com เก็บถาวร 2014-12-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  64. "Khilafat - Caliphate - The Guided Khilafat - Khilafat e Ahmadiyya - Al Islam Online". www.alislam.org.

สารานุกรม