สถาปัตยกรรมทราวิฑ
สถาปัตยกรรมทราวิฑ (ฮินดี: द्रविड़ स्थापत्य शैली; อังกฤษ: Dravidian architecture) เป็นสถาปัตยกรรมฮินดูแบบหนึ่ง ที่เป็นที่นิยมในอนุทวีปอินเดีย โดยเฉพาะอินเดียใต้ ซึ่งตีความตามวาสตุศาสตร์ ลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรมทราวิฑพบในการสร้างโบสถ์พราหมณ์ โดยเฉพาะหอโคปุรัมที่สูงชะลูด และบางเทวสถานมีหลายหอ เป็นลักษณะสำคัญของสถาปัตยกรรมแบบนี้[1] โดยทั่วไปจะเรียกโบสถ์พราหมณ์ที่สร้างด้วยสถาปัตยกรรมทราวิฑว่า "โฆยิล" (Koil, Koyil)
บริเวณที่พบสถาปัตยกรรมทราวิฑได้ทั่วไปคืออินเดียใต้ เช่น รัฐอานธรประเทศ, รัฐเกรละ, รัฐทมิฬนาฑู อาณาจักรต่าง ๆ เช่น โจฬะ, จักรวรรดิเจระ, ปัลลวะ ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบในบางส่วนของอินเดียเหนือ (ป้อมกวาลิออร์) และในศรีลังกา
อ้างอิง
- ↑ "gopura". Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 2008-01-20.
|
---|
ชนิด | | |
---|
แบ่งตามรัฐ |
- คุชราต
- กรณาฏกะ
- เกรละ
- มหาราษฏระ
- โอฑิษา
- ราชสถาน
- ทมิฬนาฑู
- อุตตรประเทศ
- เบงกอลตะวันตก
- เตลังคนา
|
---|
แบ่งตามเมือง |
- ภุพเนศวร
- เจนไน
- เดลี
- ไฮเดอราบาด
- ลักเนา
- มุมไบ
|
---|
|
|
---|
|
- ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
- ลำดับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
- ประวัติศาสตร์การก่อสร้าง
|
|
|