หมู่เกาะบันดา

หมู่เกาะบันดา
เกาะบันดาเบอซาร์มองจากป้อมเบ็ลจีกา
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พิกัด4°35′S 129°55′E / 4.583°S 129.917°E / -4.583; 129.917
กลุ่มเกาะหมู่เกาะมาลูกู
เกาะทั้งหมด11 เกาะ (มีผู้อยู่อาศัย 7 เกาะ)
เกาะหลักบันดาร์เบอซาร์, เนอีรา, บันดาอาปี, เกาะฮัตตา, เกาะอัย, เกาะรุน
พื้นที่172 ตารางกิโลเมตร (66 ตารางไมล์)
ระดับสูงสุด641 ม. (2103 ฟุต)[1]
จุดสูงสุดกูนุงอาปี
การปกครอง
จังหวัดมาลูกู
ประชากรศาสตร์
ประชากร20,924 (2020)
ความหนาแน่น121.65/กม.2 (315.07/ตารางไมล์)
ที่ตั้งของหมู่เกาะบันดาอยู่ตรงกลางของหมู่เกาะมาลูกู
แผนที่หมู่เกาะบันดา

หมู่เกาะบันดา (อินโดนีเซีย: Kepulauan Banda) เป็นกลุ่มเกาะภูเขาไฟสิบเกาะเล็กในทะเลบันดาที่ตั้งอยู่ราว 140 กิโลเมตรทางตอนใต้ของเกาะเซรัมและราว 2,000 กิโลเมตรทางของเกาะชวา และเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะโมลุกกะของอินโดนีเซีย เมืองหลักและศูนย์บริหารของหมู่เกาะอยู่ที่บันดาไนราที่ตั้งอยู่บนเกาะชื่อเดียวกัน หมู่เกาะบันดาผุดขึ้นจากมหาสมุทรที่ลึกราว 4–6 กิโลเมตรและมีเนื้อที่ราว 180 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 18,544 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2010[2] และ 20,924 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2020[3] บันดาเป็นแหล่งผลิตผลิตผลจากต้นจันทน์เทศแหล่งเดียวในโลกมาจนกระทั่งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจะมีชื่อเสียงในการเป็นแหล่งผลิตเครื่องเทศแล้วก็ยังเป็นที่นิยมของนักดำน้ำตื้นและนักดำนำลึกด้วย

อ่านเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "G. Banda Api". Badan Geologi. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-28. สืบค้นเมื่อ 2022-01-28.
  2. Biro Pusat Statistik, Jakarta, 2011.
  3. Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2021.

ข้อมูลทั่วไป

  • Lape, Peter (2000). "Political dynamics and religious change in the late pre-colonial Banda Islands, Eastern Indonesia". World Archaeology. 32 (1): 138–155. CiteSeerX 10.1.1.500.4009. doi:10.1080/004382400409934. S2CID 19503031.
  • Muller, Karl (1997). Pickell, David (บ.ก.). Maluku: Indonesian Spice Islands. Singapore: Periplus Editions. ISBN 978-962-593-176-0.
  • Villiers, John (1981). "Trade and society in the Banda Islands in the sixteenth century". Modern Asian Studies. 15 (4): 723–750. doi:10.1017/s0026749x0000874x.
  • Warburg, Otto (1897) Die Muskatnuss: ihre Geschichte, Botanik, Kultur, Handel und Verwerthung sowie ihre Verfälschungen und Surrogate zugleich ein Beitrag zur Kulturgeschichte der Banda-Inseln. Leipzig: Engelmann.[1]
  • Winn, Phillip (1998). "Banda is the Blessed Land: sacred practice and identity in the Banda Islands, Maluku". Antropologi Indonesia. 57: 71–80.
  • Winn, Phillip (2001). "Graves, groves and gardens: place and identity in central Maluku, Indonesia". The Asia Pacific Journal of Anthropology. 2 (1): 24–44. doi:10.1080/14442210110001706025. S2CID 161495500.
  • Winn, Phillip (2002). "Everyone searches, everyone finds: moral discourse and resource use in an Indonesian Muslim community". Oceania. 72 (4): 275–292. doi:10.1002/j.1834-4461.2002.tb02796.x.

แหล่งข้อมูลอื่น