อัมพาตสมองใหญ่

อัมพาตสมองใหญ่
(cerebral palsy)
ผู้ป่วยภาวะอัมพาตสมองใหญ่กำลังรับการตรวจร่างกายโดยแพทย์
สาขาวิชาPediatrics, neurology, physiatry
อาการPoor coordination, stiff muscles, weak muscles, tremors[1]
ภาวะแทรกซ้อนSeizures, intellectual disability[1]
การตั้งต้นEarly childhood[1]
ระยะดำเนินโรคLifelong[1]
สาเหตุOften unknown[1]
ปัจจัยเสี่ยงPreterm birth, being a twin, certain infections during pregnancy, difficult delivery[1]
วิธีวินิจฉัยBased on child's development[1]
การรักษาPhysical therapy, occupational therapy, speech therapy, conductive education, external braces, orthopedic surgery[1]
ยาDiazepam, baclofen, botulinum toxin[1]
ความชุก2.1 per 1,000[2]

ภาวะอัมพาตสมองใหญ่ หรือภาวะสมองพิการ (อังกฤษ: cerebral palsy) เป็นกลุ่มของโรคการเคลื่อนไหวผิดปกติชนิดถาวรที่เกิดขึ้นในช่วงวัยเด็กตอนต้น อาจมีอาการและอาการแสดงแตกต่างกันไประหว่างผู้ป่วยแต่ละคน อาการที่พบบ่อยเช่น กล้ามเนื้อประสานงานบกพร่อง กล้ามเนื้อเกร็ง อ่อนแรง และสั่น อาจมีปัญหาอื่นร่วมเช่นความบกพร่องด้านการรับสัมผัส การมองเห็น การได้ยิน การกลืน การพูด เป็นต้น ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะอัมพาตสมองใหญ่อาจกลิ้งตัว นั่ง คลาน เดินไม่ได้เร็วเท่าเด็กปกติที่อายุเท่ากัน ผู้ป่วยประมาณหนึ่งในสามมีอาการชักและความบกพร่องทางการรู้ร่วมด้วย อาการเหล่านี้แม้อาจตรวจไม่พบตั้งแต่แรก แต่จะไม่ทรุดลงเมื่อเวลาผ่านไป

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name NINDS2013 cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  2. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name Osk2013 cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.

แหล่งข้อมูลอื่น

The offline app allows you to download all of Wikipedia's medical articles in an app to access them when you have no Internet.
บทความวิกิพีเดียด้านการดูแลสุขภาพสามารถอ่านออฟไลน์ได้ทาง Medical Wikipedia app.
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก