เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
การทัพกัลลิโพลี, กุมภาพันธ์–เมษายน ค.ศ. 1915
การทัพกัลลิโพลี, เมษายน ค.ศ. 1915
วันที่30 ตุลาคม ค.ศ. 1914 – 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918
(4 ปี)
สถานที่
ผล

ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ

  • การสงบศึกที่ Mudros
  • การล่มสลายของจักรวรรดิออตโตมัน
  • การก่อตั้งรัฐใหม่ในตะวันออกกลาง
  • สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์, งสนธิสัญญาบาตัม, สนธิสัญญาเซเวร์
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
การแบ่งแยกจักรวรรดิออตโตมัน
คู่สงคราม
ฝ่ายภาคี:
 รัสเซีย (until 1917)
  • Armenian Corps
  • Algeria
  • Tunisia
  • West Africa
  • Armenian Legion

Armenia (from 1918)

Hejaz (from 1916)
 อิตาลี (from 1915)
Nejd and Hasa (from 1915)
Asir (from 1915)
ฝ่ายมหาอำนาจกลาง:
 จักรวรรดิออตโตมัน
 เยอรมนี
 ออสเตรีย-ฮังการี[1][2]
Clients:
Jabal Shammar
Azerbaijan (from 1918)
ประเทศจอร์เจีย Georgia (from 1918)
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Julian Byng
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Archibald Murray
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Edmund Allenby
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Ian Hamilton
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ John Nixon
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Percy Lake
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Frederick S. Maude 
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ Lionel Dunsterville
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ ที. อี. ลอว์เรนซ์
จักรวรรดิรัสเซีย I. Vorontsov-Dashkov
จักรวรรดิรัสเซีย GD. Nikolai Nikolaevich
จักรวรรดิรัสเซีย Nikolai Yudenich
จักรวรรดิรัสเซีย Nikolai Baratov
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 Henri Gouraud (ได้รับบาดเจ็บในขณะปฎิบัติหน้าที่)
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 Maurice Bailloud
แม่แบบ:Country data Democratic Republic of Armenia Hovhannes Hakhverdyan
แม่แบบ:Country data Democratic Republic of Armenia Tovmas Nazarbekian
แม่แบบ:Country data Democratic Republic of Armenia Andranik Ozanian
ราชอาณาจักรฮิญาซ Hussein bin Ali
ราชอาณาจักรฮิญาซ ฟัยศ็อล บิน ฮุซัยน์
ซาอุดีอาระเบีย Abdulaziz ibn Saud
จักรวรรดิออตโตมัน Enver Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Djemal Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน มุสทาฟา เคมัล อาทาทืร์ค
จักรวรรดิออตโตมัน Cevat Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Wehib Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Nuri Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Ahmed Izzet Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Fevzi Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Abdul Kerim Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Halil Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Nureddin Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Mehmet Esat Pasha
จักรวรรดิออตโตมัน Fakhri Pasha
จักรวรรดิเยอรมัน F. B. von Schellendorf
จักรวรรดิเยอรมัน Otto Liman von Sanders
จักรวรรดิเยอรมัน Colmar von der Goltz 
จักรวรรดิเยอรมัน เอริช ฟ็อน ฟัลเคินไฮน์
จักรวรรดิเยอรมัน F. K. von Kressenstein
Saud bin Abdulaziz
Fatali Khan Khoyski
ประเทศจอร์เจีย Noe Zhordania
กำลัง
จักรวรรดิบริติช 2,550,000[3]
จักรวรรดิรัสเซีย 1,000,000[4]
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 Several 100,000's[4]
แม่แบบ:Country data Democratic Republic of Armenia Several 100,000's[4]
แม่แบบ:Country data Arab Revolt 30,000 (1916)[5]
50,000+ (1918)[6]
20,000[7]
2,000[a]
Total: 3,620,000+
จักรวรรดิออตโตมัน
2,800,000 (total conscripts)[8]
800,000 (peak)[8][9]
323,000 (During Armistice)[10]
จักรวรรดิเยอรมัน 6,500 (1916)
20,000 (1918)[8]
~6,000 (1918)[11]
: 9,000 (1918)[12]
ความสูญเสีย
~1,250,000
Breakdown
  • Casualties by country
    • จักรวรรดิบริติช 1,005,000
    • จักรวรรดิรัสเซีย 140,000+
    • สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 47,000+
1,560,000[13]
771,844 dead/missing
695,375 wounded
145,104 captured
~5,500,000 civilians dead (3,500,000 Ottomans and 2,000,000 Persians)

เขตสงครามตะวันออกกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งได้แสดงให้เห็นในการรบในช่วงระหว่างวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1914 และ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918 ฝ่ายที่ได้ทำการรบ ฝ่ายหนึ่งคือจักรวรรดิออตโตมัน(รวมทั้งชาวเคิร์ดและเผ่าชาวอาหรับบางส่วน) ด้วยความช่วยเหลือจากประเทศอื่นๆในฝ่ายมหาอำนาจกลาง และอีกฝ่ายคือ บริติช (ด้วยความช่วยเหลือของชาวยิว ชาวกรีก ชาวอัสซีเรีย และชาวอาหรับส่วนใหญ่ พร้อมกับชาวอินแดียซึ่งอยู่ภายใต้จักรวรรดิของตน) รัสเซีย(กับความช่วยเหลือของชาวอาร์มีเนีย) และฝรั่งเศสจากบรรดาประเทศต่างๆ ในมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตร มีการทัพหลัก 5 การทัพ ได้แก่ การทัพไซนายและปาเลสไตน์ การทัพเมโสโปเตเมีย การทัพคอเคซัส การทัพเปอร์เซีย และการทัพกัลลิโพลี นอกจากนี้ยังมีการทัพขนาดย่อยอีกหลายการทัพ: การทัพอาหรับ และการทัพอาระเบียทางใต้

ทั้งสองฝ่ายต่างใช้กองกำลังแบบอสมมาตรในพื้นที่ภูมิภาค ฝ่ายที่อยู่ข้างฝ่ายสัมพันธมิตรคือชาวอารับที่เข้าร่วมในกบฏอาหรับและกองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มีเนีย ที่เข้าร่วมในขบวนการฝ่ายต่อต้านชาวอาร์มีเนียในช่วงการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มีเนีย พร้อมกับหน่วยทหารอาสาสมัครชาวอาร์มีเนีย กองกำลังอาสาสมัครชาวอาร์มีเนียได้ก่อตั้งกองพลน้อยแห่งสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่หนึ่งในปี ค.ศ. 1918 นอกจากนั้น ชาวอัสซีเรียได้เข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตร ภายหลังจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอัสซีเรีย เพื่อส่งเสริมให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพอัสซีเรีย เขตสงครามนี้ได้ครอบคลุมอาณาเขตที่ใหญ่ที่ในเขตสงครามทั้งหมดในสงคราม

การมีส่วนร่วมของรัสเซียในเขตสงครามนี้ได้สิ้นสุดลงอันเป็นผลมาจากการสงบศึกที่แอร์ซินจัน (5 ธันวาคม ค.ศ. 1917) ภายหลังจากที่รัฐบาลฝ่ายปฏิวัติรัสเซียได้ถอนตัวออกจากสงครามภายใต้เงื่อนไขของสนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ (3 มีนาคม ค.ศ. 1918) อาร์มีเนียได้เข้าร่วมการประชุมสันติภาพที่ทรับซอน (14 มีนาคม ค.ศ. 1918) ซึ่งส่งผลให้เกิดสนธิสัญญาบาตัม เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1918 ออตโตมันได้ยอมรับการสงบศึกที่ Mudros กับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1918 และลงนามสนธิสัญญาเซเวร์ เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1920 และต่อมาคือ สนธิสัญญาโลซาน เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1923

อ้างอิง

  1. Austro-Hungarian Army in the Ottoman Empire 1914–1918 เก็บถาวร 18 มิถุนายน 2008 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  2. Jung, Peter (2003). Austro-Hungarian Forces in World War I. Oxford: Osprey. p. 47. ISBN 1841765945.
  3. Fleet, Kate; Faroqhi, Suraiya; Kasaba, Reşat (2006). The Cambridge History of Turkey: Turkey in the Modern World. Cambridge University Press. p. 94. ISBN 0521620961.
  4. 4.0 4.1 4.2 Erickson, Edward J. (2007). Ottoman Army Effectiveness in World War I: a comparative study. Taylor & Francis. p. 154. ISBN 0-415-77099-8.
  5. Murphy, p. 26.
  6. Mehmet Bahadir Dördüncü, Mecca-Medina: the Yıldız albums of Sultan Abdülhamid II, Tughra Books, 2006, ISBN 1-59784-054-8, page 29. Number refers only to those laying siege to Medina by the time it surrendered and does not account for Arab insurgents elsewhere.
  7. Paul Bartrop, Encountering Genocide: Personal Accounts from Victims, Perpetrators, and Witnesses, ABC-CLIO, 2014
  8. 8.0 8.1 8.2 Broadberry, S. N.; Harrison, Mark (2005). The Economics Of World War I. Cambridge University Press. p. 117. ISBN 0521852129.
  9. Gerd Krumeich: Enzyklopädie Erster Weltkrieg, UTB, 2008, ISBN 3825283968, page 761 (ในภาษาเยอรมัน).
  10. A Brief History of the Late Ottoman Empire, M. Sükrü Hanioglu, page 181, 2010
  11. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 สิงหาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2020.
  12. Kostiner, Joseph (1993). The Making of Saudi Arabia, 1916–1936: From Chieftaincy to Monarchical State. Oxford University Press. p. 28. ISBN 0195360702.
  13. Ordered to Die: A History of the Ottoman Army in the First World War By Huseyin (FRW) Kivrikoglu, Edward J. Erickson, Greenwood Publishing Group, 2001, ISBN 0313315167, page 211. Listed below are total Ottoman casualties; they include some 50,000 losses in eastern Europe of which 25,000 were in Galicia, 20,000 in Romania, and a few thousand in Macedonia (p. 142).

ตัวอย่างการอ้างอิง

  1. In the Battle of Jarrab, the only major battle that the Emirate of Nejd and Hasa participated in during World War I