ไคเฟิง
ไคเฟิง 开封市 | |
---|---|
สถานที่ต่าง ๆ ในนครไคเฟิง | |
ที่ตั้งของนครไคเฟิงในมณฑลเหอหนาน | |
ที่ตั้งในประเทศจีน | |
พิกัด: 34°47′42″N 114°20′42″E / 34.79500°N 114.34500°E | |
ประเทศ | สาธารณรัฐประชาชนจีน |
มณฑล | เหอหนาน |
ที่ตั้งเทศบาล | อำเภอหลงถิง |
พื้นที่[1] | |
• นครระดับจังหวัด | 6,247 ตร.กม. (2,412 ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 1,848.5 ตร.กม. (713.7 ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 1,848.5 ตร.กม. (713.7 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 75 เมตร (245 ฟุต) |
ประชากร (สำมะโน ค.ศ. 2020)[2] | |
• นครระดับจังหวัด | 4,824,016 คน |
• ความหนาแน่น | 770 คน/ตร.กม. (2,000 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 1,735,581 คน |
• ความหนาแน่นเขตเมือง | 940 คน/ตร.กม. (2,400 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 1,735,581 คน |
• ความหนาแน่นรวมปริมณฑล | 940 คน/ตร.กม. (2,400 คน/ตร.ไมล์) |
เขตเวลา | UTC+8 (มาตรฐานจีน) |
รหัสพื้นที่ | 371 |
รหัส ISO 3166 | CN-HA-02 |
จีดีพี | 7,250 หยวนต่อหัว (2004) |
เชื้อชาติส่วนใหญ่ | ชาวฮั่น ชาวหุย |
เขตการปกครองระดับเทศมณฑล | 5 |
ป้ายทะเบียนรถ | 豫B |
เว็บไซต์ | kaifeng |
ไคเฟิง | |||||||||||||||||||||||||||
"ไคเฟิง" ในอักษรจีนตัวย่อ (บน) และตัวเต็ม (ล่าง) | |||||||||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 开封 | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 開封 | ||||||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | "เปิดชายแดน" | ||||||||||||||||||||||||||
|
ไคเฟิง ตามสำเนียงกลาง (จีนตัวย่อ: 开封; จีนตัวเต็ม: 開封; พินอิน: Kāifēng) หรือ คายฮอง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน เป็นนครในมณฑลเหอหนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน อยู่ริมฝั่งด้านใต้ของแม่น้ำฮวงโห (หรือแม่น้ำเหลือง) เป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน และเป็นที่รู้จักจากการเป็นเมืองหลวงจีนในสมัยราชวงศ์ซ่งตอนเหนือ
ไคเฟิงแต่เดิมนั้นมีชื่อว่าเปี้ยนโจว ในสมัยราชวงศ์โฮ่วเหลียงเปลี่ยนชื่อเป็น เปี้ยนจิง ครั้งมา พอมาถึงสมัยหลังได้เปลี่ยนเป็น ไคเฟิง นครไคเฟิงเป็นที่รู้จักกันดีเพราะเคยเป็นที่ทำงานของเปาบุ้นจิ้น[ต้องการอ้างอิง]
ชื่อ
อักษรย่ออย่างเป็นทางการของนครนี้คือ เปี้ยน (汴) ในอดีต นครนี้เคยมีชื่อหลายแบบ ดังนี้:
- ไต้เหลียง (จีน: 大梁)
- เปี้ยนเหลียง (汴梁)
- เปี้ยนโจว (汴州)
- หนานจิง (南京) มาจากสถานะเมืองหลวงตอนใต้ของราชวงศ์จิน และอาจสับสนกับหนานจิงในสมัยใหม่
- ตงจิง (東京)
- เปี้ยนจิง (汴京)
พื้นที่นี้ได้รับการตั้งชื่อเป็น "ไคเฟิง" หลังสงครามรวมชาติของราชวงศ์ฉินในศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีความหมายตรงตัวว่า "เปิดชายแดน" และเชิงเปรียบเปรยว่า "ซ่อนเร้น" และ "ล้างแค้น"[3] ชื่อเมืองนี้เดิมที่เขียนเป็น ฉี่เฟิง (จีน: 啓封) แต่พยางค์ ฉี่ (Baxter-Sagart: /*kʰˤijʔ/) ถูกเปลี่ยนเป็นเสียงที่คล้ายกันเป็น ไค (/*Nə-[k]ʰˤəj/, /*[k]ʰˤəj/) เพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ชื่อซ้ำกับหลิว ฉี่ (จักรพรรดิฮั่นจิง)
เขตบริหาร
นครระดับจังหวัดไคเฟิงแบ่งเขตบริหารออกเป็น 5 เขต และ 4 อำเภอ ได้แก่
- เขตกู่โหลว (鼓楼区)
- เขตหลงถิง (龙亭区)
- เขตอวี่หวังไถ (禹王台区)
- เขตเสียงฝู (祥符区)
- เขตชุนเหอหุย (顺河回族区)
- อำเภอเว่ย์ชี่ (尉氏县)
- อำเภอฉี่ (杞县)
- อำเภอทงสู่ (通许县)
- อำเภอหลานเก่า (兰考县)
แผนที่นครระดับจังหวัดไคเฟิง |
---|
เขตหลงถิง
เขตชุนเหอ
เขตกู่โหลว
เขตอวี่หวังไถ
เขตเสียงฝู
อำเภอฉี่
อำเภอทงสู่
อำเภอเว่ย์ชี่
อำเภอหลานเก่า
|
ภูมิอากาศ
ข้อมูลภูมิอากาศของไคเฟิง (ปกติ ค.ศ. 1981–2010, สูงสุด ค.ศ. 1971–2010) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 19.2 (66.6) |
25.5 (77.9) |
29.9 (85.8) |
36.0 (96.8) |
39.1 (102.4) |
42.5 (108.5) |
40.6 (105.1) |
38.0 (100.4) |
37.4 (99.3) |
34.1 (93.4) |
26.9 (80.4) |
22.2 (72) |
42.5 (108.5) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 5.2 (41.4) |
8.8 (47.8) |
14.4 (57.9) |
21.6 (70.9) |
26.9 (80.4) |
31.3 (88.3) |
31.5 (88.7) |
30.4 (86.7) |
26.6 (79.9) |
21.5 (70.7) |
13.9 (57) |
7.2 (45) |
19.94 (67.9) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 0.3 (32.5) |
3.5 (38.3) |
8.7 (47.7) |
15.7 (60.3) |
21.1 (70) |
25.7 (78.3) |
27.0 (80.6) |
25.9 (78.6) |
21.4 (70.5) |
15.6 (60.1) |
8.3 (46.9) |
2.2 (36) |
14.62 (58.31) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | -3.6 (25.5) |
-0.8 (30.6) |
3.9 (39) |
10.3 (50.5) |
15.7 (60.3) |
20.4 (68.7) |
23.3 (73.9) |
22.3 (72.1) |
17.1 (62.8) |
10.9 (51.6) |
3.8 (38.8) |
-1.7 (28.9) |
10.13 (50.24) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | -15.0 (5) |
-14.2 (6.4) |
-7.3 (18.9) |
-1.6 (29.1) |
5.0 (41) |
11.3 (52.3) |
15.2 (59.4) |
13.1 (55.6) |
6.0 (42.8) |
-0.2 (31.6) |
-11.7 (10.9) |
-16.0 (3.2) |
−16 (3.2) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 8.3 (0.327) |
10.8 (0.425) |
26.2 (1.031) |
29.9 (1.177) |
58.9 (2.319) |
69.5 (2.736) |
165.2 (6.504) |
132.8 (5.228) |
69.5 (2.736) |
32.9 (1.295) |
21.4 (0.843) |
9.6 (0.378) |
635 (25) |
ความชื้นร้อยละ | 61 | 60 | 61 | 62 | 65 | 65 | 78 | 80 | 75 | 69 | 66 | 64 | 67.2 |
แหล่งที่มา 1: China Meteorological Data Service Center[4] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: Weather China (precipitation days 1971–2000)[5] |
เมืองพี่น้อง
ไคเฟิงเป็นเมืองพี่น้องกับเมือง ดังนี้[6]
อ้างอิง
- ↑ 最新人口信息 www.hongheiku.com (ภาษาจีน). hongheiku. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-15. สืบค้นเมื่อ 2021-01-12.
- ↑ "China: Hénán (Prefectures, Cities, Districts and Counties) - Population Statistics, Charts and Map". สืบค้นเมื่อ 2021-09-26.
- ↑ 中国古今地名大辞典 (ภาษาจีนตัวย่อ). Shanghai: Shanghai Lexicographical Publishing House. 2005. p. 348.
- ↑ 中国地面气候标准值月值(1981-2010) (ภาษาจีนตัวย่อ). China Meteorological Data Service Center. สืบค้นเมื่อ 29 November 2022.
- ↑ 开封 - 气象数据 -中国天气网 (ภาษาจีน). Weather China. สืบค้นเมื่อ 29 November 2022.
- ↑ "友好都市". ekaifeng.gov.cn (ภาษาจีน). Kaifeng. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-06-24. สืบค้นเมื่อ 2020-07-14.
อ่านเพิ่ม
- Cotterell, Arthur. (2007). The Imperial Capitals of China: An Inside View of the Celestial Empire. London: Pimlico. pp. 304 pages. ISBN 978-1-84595-009-5.
- The Origin of the Kaifeng Jews, in S. Shaked, ed., Irano-Judaica, Jerusalem, 1982, pp. 101–11
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์หน่วยงานบริหารนครไคเฟิง (อักษรจีนตัวย่อ)
- เว็บไซต์นครไคเฟิง (อักษรจีนตัวย่อ)
- Notes on the Jewish colony at Kaifeng from the Papers of Charles Daniel Tenney