เฮ็นไตงานะ

เฮ็นไตงานะ
変体仮名
変体がな
變體假名
變體がな
ญี่ปุ่น: 異体仮名โรมาจิitaigana[1]
ชนิด
ช่วงยุค
ป. ค.ศ. 800 – 1900; ปัจจุบันใช้งานน้อย
ภาษาพูดภาษาญี่ปุ่น
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
เจี่ยกู่เหวิน
ระบบพี่น้อง
คาตากานะ, ฮิรางานะ
ISO 15924
ISO 15924Hira (410), ​Hiragana
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Hiragana
ช่วงยูนิโคด
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

ในระบบอักษรญี่ปุ่น เฮ็นไตงานะ (ญี่ปุ่น: 変体仮名, 変体がなโรมาจิhentaiganaทับศัพท์เสียงอ่านภาษาญี่ปุ่น: [hentaiɡana] หรือ [hentaꜜiɡana], lit. "คานะผันแปร")[a] เป็นอักษรรูปแบบหนึ่งของอักษรฮิรางานะ[2]

เฮ็นไตงานะมาตรฐาน

ก่อนการเสนอที่นำไปสู่การรวม เฮ็นไตงานะ ในยูนิโคด 10.0 ทางโมจิกิบัน (ฝ่ายหนึ่งของ Japanese Information-technology Promotion Agency (IPA)) ได้ทำรูปแบบรายการมาตรฐานไว้แล้ว [3]

a i u e o
あ(安) い(以) う(宇) え(衣) お(於)
𛀂(安)

𛀅(惡)

𛀃(愛)

𛀄(阿)

𛀆(以)

𛀇(伊)

𛀈(意)

𛀉(移)

𛀊(宇)

𛀋(宇)

𛀌(憂)

𛀍(有)

𛀎(雲)

𛀁(江)

𛀏(盈)

𛀐(縁)

𛀑(衣)

𛀒(衣)

𛀓(要)

𛀔(於)

𛀕(於)

𛀖(隱)

k か(加) き(幾) く(久) け(計) こ(己)
𛀗(佳)

𛀘(加)

𛀙(可)

𛀚(可)

𛀛(嘉)

𛀢(家)

𛀜(我)

𛀝(歟)

𛀞(賀)

𛀟(閑)

𛀠(香)

𛀡(駕)

𛀣(喜)[4]

𛀤(幾)

𛀥(幾)

𛀦(支)

𛀻(期)

𛀧(木)

𛀨(祈)

𛀩(貴)

𛀪(起)

𛀫(久)

𛀬(久)

𛀭(九)

𛀮(供)

𛀯(倶)

𛀰(具)

𛀱(求)

𛀳(介)

𛀲(介)

𛀢(家)

𛀴(希)

𛀵(氣)

𛀶(計)

𛀷(遣)

𛀸(古)

𛂘(子)

𛀹(故)

𛀻(期)

𛀺(許)

s さ(左) し(之) す(寸) せ(世) そ(曾)
𛀼(乍)

𛀽(佐)

𛀾(佐)

𛀿(左)

𛁀(差)

𛁁(散)

𛁂(斜)

𛁃(沙)

𛁄(之)

𛁅(之)

𛁆(事)

𛁇(四)

𛁈(志)

𛁉(新)

𛁊(受)

𛁋(壽)

𛁌(數)

𛁍(數)

𛁎(春)

𛁏(春)

𛁐(須)

𛁑(須)

𛁒(世)

𛁓(世)

𛁔(世)

𛁕(勢)

𛁖(聲)

𛁗(所)

𛁘(所)

𛁙(曾)

𛁚(曾)

𛁛(楚)

𛁜(蘇)

𛁝(處)

t た(太) ち(知) つ(州) て(天) と(止)
𛁞(堂)

𛁟(多)

𛁠(多)

𛁡(當)

𛁢(千)

𛁣(地)

𛁤(智)

𛁥(知)

𛁦(知)

𛁧(致)

𛁨(遲)

𛁩(川)

𛁪(川)

𛁫(津)

𛁬(都)

𛁭(徒)

𛁮(亭)

𛁯(低)

𛁰(傳)

𛁱(天)

𛁲(天)

𛁳(天)

𛁴(帝)

𛁵(弖)

𛁶(轉)

𛂎(而)

𛁷(土)

𛁸(度)

𛁹(東)

𛁺(登)

𛁻(登)

𛁼(砥)

𛁽(等)

𛁭(徒)

n な(奈) に(仁) ぬ(奴) ね(祢) の(乃)
𛁾(南)

𛁿(名)

𛂀(奈)

𛂁(奈)

𛂂(奈)

𛂃(菜)

𛂄(那)

𛂅(那)

𛂆(難)

𛂇(丹)

𛂈(二)

𛂉(仁)

𛂊(兒)

𛂋(爾)

𛂌(爾)

𛂍(耳)

𛂎(而)

𛂏(努)

𛂐(奴)

𛂑(怒)

𛂒(年)

𛂓(年)

𛂔(年)

𛂕(根)

𛂖(熱)

𛂗(禰)

𛂘(子)

𛂙(乃)

𛂚(濃)

𛂛(能)

𛂜(能)

𛂝(農)

h は(波) ひ(比) ふ(不) へ(部) ほ(保)
𛂞(八)

𛂟(半)

𛂠(婆)

𛂡(波)

𛂢(盤)

𛂣(盤)

𛂤(破)

𛂥(者)

𛂦(者)

𛂧(葉)

𛂨(頗)

𛂩(悲)

𛂪(日)

𛂫(比)

𛂬(避)

𛂭(非)

𛂮(飛)

𛂯(飛)

𛂰(不)

𛂱(婦)

𛂲(布)

𛂳(倍)

𛂴(弊)

𛂵(弊)

𛂶(遍)

𛂷(邊)

𛂸(邊)

𛂹(部)

𛂺(保)

𛂻(保)

𛂼(報)

𛂽(奉)

𛂾(寶)

𛂿(本)

𛃀(本)

𛃁(豊)

m ま(末) み(美) む(武) め(女) も(毛)
𛃂(万)

𛃃(末)

𛃄(末)

𛃅(滿)

𛃆(滿)

𛃇(萬)

𛃈(麻)

𛃖(馬)

𛃉(三)

𛃊(微)

𛃋(美)

𛃌(美)

𛃍(美)

𛃎(見)

𛃏(身)

𛃐(武)

𛃑(無)

𛃒(牟)

𛃓(舞)

𛄝(无)

𛄞(无)

𛃔(免)

𛃕(面)

𛃖(馬)

𛃗(母)

𛃘(毛)

𛃙(毛)

𛃚(毛)

𛃛(茂)

𛃜(裳)

𛄝(无)

𛄞(无)

y や(也) 𛀆(以) ゆ(由) 𛀁(江) よ(与)
𛃝(也)

𛃞(也)

𛃟(屋)

𛃠(耶)

𛃡(耶)

𛃢(夜)

𛀆(以) 𛃣(游)

𛃤(由)

𛃥(由)

𛃦(遊)

𛀁(江) 𛃧(代)

𛃨(余)

𛃩(與)

𛃪(與)

𛃫(與)

𛃬(餘)

𛃢(夜)

r ら(良) り(利) る(留) れ(礼) ろ(呂)
𛃭(羅)

𛃮(良)

𛃯(良)

𛃰(良)

𛁽(等)

𛃱(利)

𛃲(利)

𛃳(李)

𛃴(梨)

𛃵(理)

𛃶(里)

𛃷(離)

𛃸(流)

𛃹(留)

𛃺(留)

𛃻(留)

𛃼(累)

𛃽(類)

𛃾(禮)

𛃿(礼)

𛄀(連)

𛄁(麗)

𛄂(呂)

𛄃(呂)

𛄄(婁)

𛄅(樓)

𛄆(路)

𛄇(露)

w わ(和) ゐ(為) 𛄟(汙)[5] ゑ(恵) を(遠)
𛄈(倭)

𛄉(和)

𛄊(和)

𛄋(王)

𛄌(王)

𛄍(井)

𛄎(井)

𛄏(居)

𛄐(爲)

𛄑(遺)

𛄒(惠)

𛄓(衞)

𛄔(衞)

𛄕(衞)

𛄖(乎)

𛄗(乎)

𛄘(尾)

𛄙(緒)

𛄚(越)

𛄛(遠)

𛄜(遠)

𛀅(惡)

n' ん(无)
𛄝(无)

𛄞(无)

ในการดูอักษรเฮ็นไตงานะ จะต้องโหลดแบบอักษรพิเศษที่สนับสนุนอักษรเฮ็นไตงานะ เช่น

ตัวอย่างรูปอักขระ wu (𛄟) ในอักษรฮิรางานะต้องใช้แบบอักษรพิเศษอย่าง

ภาพ

นี่คือตัวอย่างอักษรเฮ็นไตงานะบางส่วนที่มีรูปเขียนจากอักษรคันจิตัวเดียวกันที่เทียบกับฮิรางานะมาตรฐาน แต่ย่อต่างวิธี ส่วนอีกกลุ่มสืบมาจากอักษรคันจิที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง แต่แทนเสียงเดียวกัน

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. เฮ็นไต (変体: "ผันแปร" หรือ "รูปร่างไม่สม่ำเสมอ") ในที่นี้ไม่ได้มีความหมายเดียวกันกับ เฮ็นไต (変態) ที่หมายถึง "ผิดปกติ" หรือ "ทะลึ่ง"

อ้างอิง

  1. 笹原宏之, 横山詔, Eric Long (2003). 現代日本の異体字. 三省堂. pp. 35–36. ISBN 4-385-36112-6.{cite book}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. 異体字とは(コトバンク)
  3. "Mj文字情報一覧表 変体仮名編". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-29. สืบค้นเมื่อ 2018-09-29.
  4. "MJ文字情報一覧表 変体仮名編". mojikiban.ipa.go.jp. The Kanji 㐂 derived from the Hentaigana of 喜. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-29. สืบค้นเมื่อ 2018-11-19.{cite web}: CS1 maint: others (ลิงก์)
  5. Iannacone, Jake (2020). "Reply to The Origin of Hiragana /wu/ 平仮名のわ行うの字源に対する新たな発見"

แหล่งข้อมูลอื่น