โชโจะ
เป็นส่วนหนึ่งของซีรีส์เกี่ยวกับ |
อนิเมะและมังงะ |
---|
สถานีย่อยการ์ตูนญี่ปุ่น |
มังงะโชโจะ (ญี่ปุ่น: 少女漫画; โรมาจิ: Shōjo manga; อังกฤษ: Girl Comics) เป็นมังงะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัยรุ่นหญิง ซึ่งนำชื่อมาจากการทับศัพท์คำว่า 少女 (shōjo) แปลตรงตัวว่า "สาวน้อย" มังงะโชโจะครอบคลุมไปในหลายด้าน ตั้งแต่ละครประวัติศาสตร์จนถึงนิยายวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่มักเน้นถึงความสัมพันธ์หรืออารมณ์อันโรแมนติก[1]
อย่างไรก็ตาม เมื่อกล่าวในมุมแคบ มังงะโชโจะไม่มีแนวของตนเอง แต่บ่งชี้ถึงกลุ่มเป้าหมายประชากร[2][3]
การ์ตูนแนวโชโจะนั้นมักสับสนกับการ์ตูนแนวบิโชโจะ (เด็กผู้หญิงสวย) ซึ่งหมายถึงการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีตัวละครหญิงที่มีหน้าตาและรูปร่างสวยงามเป็นจุดขาย โดยมีผู้ชายเป็นกลุ่มเป้าหมาย
รายชื่ออนิเมะและมังงะแนวโชโจะ
- เซเลอร์มูน
- ซากุระ มือปราบไพ่ทาโรต์
- เดอะ เจนเทลเมน อัลลิแอนซ์ ครอส
- ซินามอโรล
- มังกรสาวที่รัก
- ฝากใจไปถึงเธอ
- เจ้าหญิงเงือกน้อย
- เจ้าหญิงคิลาล่า
- มหัศจรรย์สาวน้อย พริตตี้เคียว
- แวมไพร์ คุไน
- กู้บังลังก์มังกรแดง
- เส้นทางฝันของสาวน้อยขนมหวาน
- จิฮายะ กลอนรักพิชิตใจเธอ
- สาวเมดผจญหนุ่มสุดป่วน
- บันทึกใสจากวัยฝัน
- แสงดาวกลางใจ
- Last Game
- จิ้งจอกเย็นชากับสาวซ่าเทพจำเป็น
- รักร้ายยายตัวแสบ
- Hibi ChouChou Daily Butterfly
- หวานใจนายตัวป่วน
- ยัยหมาป่ากับเจ้าชายเย็นชา
- พูดว่ารัก...กับฉันสิ
- Kyou no Kira-kun Closest Love to Heaven
- เมื่อความรัก...มาทักทาย
- เรื่องธรรมดาของเธอกับฉัน
- ฉันนี่แหละอาจารย์
- นักเขียนการ์ตูนสาวน้อยรายเดือนโนซากิคุง
- Kimi ni Koishitei desu ka
- ชมรมรัก คลับมหาสนุก
- Love So Life
- Yumemiru Taiyou Dreamin' Sun
- Orange
- Namaikizakari
- สาวแซ่บแอ๊บป้า
- Ore Monogatari!! My Love Story!!
- Nanohana no Kare
- ไลเออร์ ไลเออร์
- รักลวงป่วนใจ
- Koisuru Harinezumi A Hedgehog in Love
- Houkago × Ponytail After School × Ponytail
- Koi to uso Love and Lies
- Hatsu Haru
- เกิดใหม่ทั้งทีขอสร้างอาณาจักรด้วยขนมหวาน
- กุหลาบแวร์ซายส์
- รหัสลับ เซเลอร์วี
- เซเลอร์มูน คริสตัล
- หน้ากากแก้ว
- เสน่ห์สาวข้าวปั้น
- สาวแกร่งแรงเกินร้อย
- อูเทนะ พลิกฟ้าตามหารัก
- มาร์มาเลดบอย
- สับขั้วมาลุ้นรัก
- AYA ตำนานนางฟ้า
- ปริศนาพิทักษ์โลก
- X พลังล้างโลก
- เส้นทางฝันของสาวน้อยขนมหวาน
- มายเมโลดี้ หนูน้อยแห่งป่าเมอร์รี่แลนด์
- หนูน้อยจอมซ่า มารุโกะจัง
ความหมายของชื่อ/รูปแบบการดำเนินเรื่อง/ลีลาการวาดภาพ
ความหมายของชื่อ"โชโจะ" (Shōjo&少女)
แปลว่า"สาวน้อย" โดยตัวอักษรคันจิ"少" (Shō) แปลว่า เล็ก,น้อย ส่วนตัวอักษรคันจิ"女"(jo) แปลว่า"ผู้หญิง" ดังนั้น 少女 (Shōjo) จึงแปลว่า"สาวน้อย,เด็กผู้หญิง นั่นเอง ส่วนคำว่า 漫画 (Manga) แปลว่า"หนังสือการ์ตูน" ดังนั้นพอจับคำว่า (少女) กับ (漫画) มารวมกันจะได้คำว่า 少女漫画 (Shōjo Manga โชโจะ'มังงะ) นั่นเอง โดยการ์ตูนญี่ปุ่น แนวนี้มีชื่อภาษาไทยว่า"การ์ตูนผู้หญิง" และชื่อภาษาอังกฤษของการ์ตูนชนิดนี้คือ"Girl Comics"
นอกจากนี้คำว่าโชโจะยังสามารถเขียนคำทับภาษาอังกฤษศัพท์ได้หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็น Shoujo,Shojo หรือ Shōjo โดยคำว่า Shōjo (โชโจะ) มาจากตัวอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่น 2 ตัว คือคันจิตัว 少 (Shō) เล็ก,น้อย และคันจิตัว 女 (jo) ผู้หญิง ดังนั้น 少女 (Shōjo) จึงแปลตรงตัวว่า เด็กผู้หญิง,เด็กหญิง นั่นเอง เรื่องราวการดำเนินเรื่องของอนิเมะและมังงะแนวโชโจะคือการที่เด็กผู้หญิงวัยรุ่นคนหนึ่งพบกับผู้ชายที่หล่อ ความรักในการ์ตูนแนวโชโจะมักจะเป็นความรักในอุดมคติในวัยเรียนสำหรับในประเทศไทย มันคือมังงะส่วนมากของสำนักพิมพ์บงกช โดยสไตล์การวาดภาพของการ์ตูนแนวโชโจะมักจะมีความหวานแหวว ละเอียดอ่อน ตัวละครเด็กผู้หญิงในเรื่องมักจะมีดวงตาที่กลมโต เป็นประกาย มีความผอมบางน่ารักน่าเอ็นดู ซึ่งจะแตกต่างกับตัวละครหญิงในมังงะแนว โชเน็ง ซึ่งจะมีรูปร่างหน้าตาสวยงามเกินความเป็นจริง
อ้างอิง
- ↑ Toku, Masami, บ.ก. (2005). "Shojo Manga: Girl Power!". Chico Statements Magazine. California State University, Chico. ISBN 1-886226-10-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 10, 2011.
- ↑ Thorn, Rachel (2001). "Shôjo Manga – Something for the Girls". The Japan Quarterly. Tokyo: Asahi Shimbun. 48 (3). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 19, 2007.
- ↑ Thorn, Rachel (2004). "What Shôjo Manga Are and Are Not: A Quick Guide for the Confused". Matt-Thorn.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 18, 2015.
บรรณานุกรม
- Berndt, Jaqueline; Nagaike, Kazumi; Ogi, Fusami, บ.ก. (2019). Shōjo Across Media: Exploring "Girl" Practices in Contemporary Japan. Palgrave Macmillan. ISBN 978-3030014841.
- Brient, Hervé, บ.ก. (2010). Le manga au féminin: Articles, chroniques, entretiens et mangas. Éditions H. ISBN 978-2-9531781-4-2.
- Bouissou, Jean-Marie (2014). Manga, Histoire et univers de la bande dessinée japonaise (ภาษาฝรั่งเศส). Editions Philippe Piquier. ISBN 978-2-8097-0996-4.
- Buckley, Sandra (2002). Encyclopedia of Contemporary Japanese Culture. Routledge. ISBN 0-415-14344-6.
- Danziger-Russell, Jacqueline (2012). Girls and Their Comics: Finding a Female Voice in Comic Book Narrative. Scarecrow Press. ISBN 978-0-8108-8376-5.
- Dollase, Hiromi Tsuchiya (2010). Shōjo Spirits in Horror Manga. U.S.-Japan Women's Journal. University of Hawai'i Press. pp. 59–80.
- Dollase, Hiromi Tsuchiya (2019). Age of Shojo: The Emergence, Evolution, and Power of Japanese Girls' Magazine Fiction. SUNY Press. ISBN 978-1438473918. JSTOR 42772010.
- Fasulo, Fausto, บ.ก. (2021). Le Manga D'Horreur [Horror Manga] (ภาษาฝรั่งเศส). Custom Publishing France. ISBN 978-2-490308-29-3.
- Fraser, Lucy; Monden, Masafumi (2017). "The Maiden Switch: New Possibilities for Understanding Japanese Shōjo Manga (Girls' Comics)". Asian Studies Review. 41 (4): 544–561. doi:10.1080/10357823.2017.1370436. S2CID 149014163.
- Friedman, Erica (November 27, 2014). Yuri: A Genre Without Borders. Eureka. แปลโดย Shiina, Yukari. Seidosha. pp. 143–147. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 15, 2021. สืบค้นเมื่อ January 19, 2021.
- Fujimoto, Yukari (1991). "A Life-Size Mirror : Women's Self-Representation in Girls' Comics". Review of Japanese Culture and Society. 4: 53–57. JSTOR 42800110.
- Fujimoto, Yukari (2008). "Japanese Contemporary Manga (Number 1) : Shōjo (Girls Manga)" (PDF). Japanese Book News. Vol. 56. The Japan Foundation. p. 12. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-06-22. สืบค้นเมื่อ November 3, 2019.
- Fujimoto, Yukari (2012). แปลโดย Thorn, Rachel. "Takahashi Macoto: The Origin of Shōjo Manga Style". Mechademia. University of Minnesota Press. 7: 24–55. doi:10.1353/mec.2012.0000. S2CID 121492914.
- Fujimoto, Yukari (2014). แปลโดย Fraser, Lucy. "Where Is My Place in the World? Early Shōjo Manga Portrayals of Lesbianism". Mechademia. University of Minnesota Press. 9: 25–42. doi:10.1353/mec.2014.0007. S2CID 122076678.
- Hashimoto, Miyuki (2007). Visual Kei Otaku Identity—An Intercultural Analysis (PDF). Intercultural Communication Studies. Vol. XVI. pp. 87–99. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ June 7, 2011.
- Koyama-Richard, Brigitte (2007). Mille Ans de Manga (ภาษาฝรั่งเศส). Groupe Flammarion. ISBN 978-2-08-120063-0.
- Maser, Verena (2013). Beautiful and Innocent: Female Same-Sex Intimacy in the Japanese Yuri Genre (PDF) (วิทยานิพนธ์). University of Trier Department of Linguistics, Literature and Media Studies (PhD thesis).
- Masuda, Nozomi (2020). "少女マンガ黎明期における作家と編集者:「少女マンガを語る会」記録より (Authors and Publishers Behind Shōjo Manga: Minutes from the Seminar on Shōjo Manga". 武庫川女子大学生活美学研究所紀要 (ภาษาญี่ปุ่น). 30. doi:10.14993/00002074.
- McLelland, Mark (2006). Why are Japanese Girls' Comics full of Boys Bonking?. Refractory: A Journal of Entertainment Media. Vol. 10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 15, 2008.
- McLelland, Mark (2010). "The Beautiful Boy in Japanese Girl's Manga". ใน Johnson-Woods, Toni (บ.ก.). Manga: An Anthology of Global and Cultural Perspectives. Continuum International Publishing Group. ISBN 978-0-8264-2937-7.
- Natsume, Fusanosuke; Holt, Jon; Teppei, Fukuda (2020). Panel Configurations in Shōjo Manga. US-Japan Women's Journal. Vol. 58. pp. 58–74. doi:10.1353/jwj.2020.0005. S2CID 234772253.
- Ogi, Fusami (2003). "Female Subjectivity and Shoujo (Girls) Manga (Japanese Comics) : Shoujo in Ladies' Comics and Young Ladies' Comics" (PDF). The Journal of Popular Culture. Blackwell Publishing. 36 (4): 780–803. doi:10.1111/1540-5931.00045. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ November 4, 2019.
- Ogi, Fusami; Suter, Rebecca; Nagaike, Kazumi; Lent, John, บ.ก. (2019). Women's Manga in Asia and Beyond: Uniting Different Cultures and Identities. Palgrave Macmillan. ISBN 978-3-319-97229-9.
- Pinon, Matthieu; Lefebvre, Laurent (2015). Histoire (s) du manga moderne: 1952–2012 [Historie (s) of Modern Manga: 1952–2012] (ภาษาฝรั่งเศส). Ynnis. ISBN 979-10-93376-22-6.
- Poupée, Karen (2010). Histoire du Manga [History of Manga] (ภาษาฝรั่งเศส). Editions Tallandier. ISBN 979-10-210-0216-6.
- Prough, Jennifer (2011). Straight from the Heart: Gender, Intimacy, and the Cultural Production of Shōjo Manga. University of Hawaiʻi Press. ISBN 978-0-8248-3457-9.
- Schodt, Frederik L. (1983). Manga! Manga! The World of Japanese Comics. Kodansha International. ISBN 0-87011-752-1.
- Shamoon, Deborah (2012). Passionate Friendship: The Aesthetics of Girl's Culture in Japan. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-82483-542-2.
- Takahashi, Mizuki (2008). "Opening the Closed World of Shōjo Manga". Japanese Visual Culture: Explorations in the World of Manga and Anime. ME Sharpe. ISBN 978-0-7656-1601-2.
- Takeuchi, Kayo (October 2010). The Genealogy of Japanese Shōjo Manga (Girls' Comics) Studies. .S.-Japan Women's Journal. Josai University Educational Corporation, University of Hawai'i Press. pp. 81–112. JSTOR 42772011.
- Thorn, Rachel (2001). Shôjo Manga – Something for the Girls. The Japan Quarterly. Vol. 48. Tokyo: Asahi Shimbun. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 19, 2007.
- Toku, Masami (2015). International Perspectives on Shojo and Shojo Manga The Influence of Girl Culture. Routledge. ISBN 9781138549036.
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ โชโจะ