โอรสสวรรค์
โอรสสวรรค์ | |||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาจีน | 天子 | ||||||||||||||
| |||||||||||||||
ชื่อภาษาเวียดนาม | |||||||||||||||
จื๋อโกว๊กหงือ | Thiên tử | ||||||||||||||
จื๋อฮ้าน | 天子 | ||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||
ฮันกึล | 천자 | ||||||||||||||
ฮันจา | 天子 | ||||||||||||||
ชื่อภาษาญี่ปุ่น | |||||||||||||||
คันจิ | 天子 | ||||||||||||||
ฮิรางานะ | てんし | ||||||||||||||
| |||||||||||||||
ชื่อภาษาแมนจู | |||||||||||||||
อักษรแมนจู | ᠠᠪᡴᠠᡳ ᠵᡠᡳ | ||||||||||||||
เมิลเลินดอร์ฟ | abkai jui |
โอรสสวรรค์ หรือ เทียนจื่อ (จีน: 天子; พินอิน: Tiānzǐ) เป็นราชฐานันดรอันศักดิ์สิทธิ์ของจักรพรรดิจีน กำเนิดขึ้นพร้อมกับราชวงศ์โจว[1] และตั้งอยู่บนหลักการเมืองและจิตวิญญาณเรื่องอาณัติสวรรค์
ต่อมา พระมหากษัตริย์เอเชียตะวันออกอื่นต่างรับเอาฐานันดรศักดิ์ "โอรสสวรรค์" ไปเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การปกครองของตน
โอรสสวรรค์เป็นจักรพรรดิสากลสูงสุด ผู้ทรงปกครองเทียนเซี่ย ("ใต้หล้า") สถานภาพของพระองค์แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า "ผู้ปกครองทั้งจักรวาล" หรือ "ผู้ปกครองทั้งโลก"[2] ฐานันดรศักดิ์ "โอรสสวรรค์" มีการตีความตามอักษรเฉพาะในประเทศจีนและญี่ปุ่น ซึ่งพระมหากษัตริย์ถูกเรียกเป็นกึ่งเทวดา เทวดา หรือ "เทวดาที่ยังทรงพระชนม์ชีพ" ผู้ที่เทวดาโบราณทั้งปวงทรงเลือก[3]
ประวัติและการรับไปใช้
อ้างอิง
- ↑ Eno, Robert (2012). "Inscriptional records of the Western Zhou". IUScholarWorks. p. 18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ Oct 16, 2023.
Note that it is during the reign of King Kang that the custom of referring to the King as the Son of Heaven (Tian) first begins.
- ↑ Ebrey 2010, p. 179.
- ↑ Dull 1990, p. 59.
ข้อมูลทั่วไป
- Beasley, William (1999). "The Making of a Monarchy". The Japanese Experience: A Short History of Japan. University of California Press. ISBN 978-0-520-22560-2.
- Dull, Jack (1990). "The Evolution of Government in China". Heritage of China: Contemporary Perspectives on Chinese Civilization. University of California Press. ISBN 978-0-520-06441-6.
- Ebrey, Patricia Buckley (2010) [1996]. The Cambridge Illustrated History of China (2nd ed.). Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-12433-1.
- Huffman, James (2010). Japan in World History. Oxford University Press. ISBN 978-0-19-979884-1.
- Inoue, Mitsusada (1993). "The Century of Reform". The Cambridge History of Japan. Cambridge University Press. pp. 163–220. ISBN 978-0-521-22352-2.
- Ooms, Herman (2009). Imperial Politics and Symbolics in Ancient Japan: The Tenmu Dynasty, 650–800. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-3235-3.
- Twitchett, Denis (2000). H. J. Van Derven (บ.ก.). Warfare in Chinese History. BRILL. ISBN 978-90-04-11774-7.
- Woodside, Alexander (1971). Vietnam and the Chinese Model: A Comparative Study of Vietnamese and Chinese Government in the First Half of the Nineteenth Century. Harvard University Press. ISBN 978-0-674-93721-5.