ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2543
ฤดูกาล | 2543 |
---|---|
ทีมชนะเลิศ | บีอีซี เทโรศาสน ขนะเลิศไทยลีก สมัยแรก ชนะเลิศลีกสูงสุด สมัยแรก |
ตกชั้น | ไม่มี [1] |
เอเชียน คลับ แชมเปียนส์ชิพ ฤดูกาล 2544/45 | บีอีซี เทโรศาสน |
เอเชียน คัพ วินเนอร์ส คัพ ฤดูกาล 2544/45 | ทหารอากาศ |
ผู้ทำประตูสูงสุด | สุธี สุขสมกิจ (ธนาคารกสิกรไทย) 16 ประตู |
ทีมเหย้า ชนะสูงสุด | บีอีซี เทโรศาสน 5-0 สินธนา |
ทีมเยือน ชนะสูงสุด | ธนาคารกรุงไทย 0-6 บีอีซี เทโรศาสน |
จำนวนประตูสูงสุด | องค์การโทรศัพท์ฯ 3-6 กรุงเทพมหานคร (9 ประตู) |
← 2542 2544/45 → |
ไทยพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2543 หรือ คาลเท็กซ์พรีเมียร์ลีก 2543 ตามชื่อผู้สนับสนุนคือ คาลเท็กซ์ เป็นการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก ประกอบด้วย 12 สโมสร โดยทีมอันดับสุดท้ายจะตกชั้นไปเล่นใน ไทยลีกดิวิชัน 1 โดยอัตโนมัติ ส่วนทีมอับดับที่ 11 จะต้องไปเล่นเพลย์ออฟ ขึ้นชั้น/ตกชั้น กับ ทีมอันดับที่ 2 ของ ไทยลีกดิวิชัน 1 โดยในฤดูกาลนี้
สโมสรที่เข้าร่วมการแข่งขัน
การเปลื่ยนแปลงสโมสรที่เล่นในลีก
ตกชั้นจาก ไทยลีก 2542
เลื่อนชั้นจาก ดิวิชั่น 1 2542
สนามเหย้าและที่ตั้ง
สโมสร | ที่ตั้ง | สนามเหย้า | ความจุ (โดยประมาณ) |
---|---|---|---|
ทหารอากาศ | ปทุมธานี | สนามกีฬาธูปะเตมีย์ | 20,000 |
การท่าเรือฯ | คลองเตย | สนามกีฬาการท่าเรือแห่งประเทศไทย | 3,000 |
บีอีซี เทโรศาสน | หนองจอก | สนามมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร | 5,000 |
โอสถสภา | ปทุมธานี | สนามฟุตบอลหมู่บ้านธนารมณ์ | 1,500 |
องค์การโทรศัพท์ฯ | หลักสี่ | สนามกีฬาองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย | 2,500 |
สินธนา | บึงกุ่ม | สนามหมู่บ้านสินธนา | 800 |
ธนาคารกรุงเทพ | สวนหลวง | สนามสโมสรธนาคารกรุงเทพ อุดมสุข | 2,000 |
กรุงเทพมหานคร | ดินแดง | สนามไทย - ญี่ปุ่น ดินแดง | 10,000 |
ธนาคารกสิกรไทย | ปทุมวัน | สนามเทพหัสดิน | 6,378 |
ธนาคารกรุงไทย | |||
ตำรวจ | หลักสี่ | สนามบุณยะจินดา | 3,500 |
ราชนาวี | สัตหีบ | สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ | 5,000 |
ข้อมูลสโมสรและผู้สนับสนุน
หมายเหตุ: ธงชาติที่ระบุทีมชาตินั้นเป็นไปตามกฎข้อบังคับของฟีฟ่า ผู้เล่นสามารถถือสัญชาติที่ไม่เป็นไปตามฟีฟ่าได้มากกว่าหนึ่งสัญชาติ
สโมสร | หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ผู้ผลิตชุด | ผู้สนับสนุน |
---|---|---|---|
ทหารอากาศ | ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน | เอฟบีที | เบียร์สิงห์ |
การท่าเรือฯ | ดาวยศ ดารา | แกรนด์ สปอร์ต | โค้ก |
บีอีซี เทโรศาสน | พิชัย ปิตุวงศ์ | อาดิดาส | บีอีซี |
โอสถสภา | ชัชชัย พหลแพทย์ | แกรนด์ สปอร์ต | เอ็มสปอร์ต |
องค์การโทรศัพท์ฯ | พงษ์พันธ์ วงษ์สุวรรณ | อูลสปอร์ต | ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ |
สินธนา | การุณ นาคสวัสดิ์ | รีบอค | ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ |
สมบัติ ลีกำเนิดไทย | |||
ธนาคารกรุงเทพ | วิสูตร วิชายา | แกรนด์ สปอร์ต | ธนาคารกรุงเทพ, มาสเตอร์การ์ด |
กรุงเทพมหานคร | วิทยา เลาหกุล | แพน | ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ |
ธนาคารกสิกรไทย | ชาญวิทย์ ผลชีวิน | ผลิตเองจากสโมสร | ธนาคารกสิกรไทย |
ธนาคารกรุงไทย | อาริศ กุลสวัสดิ์ภักดี | เดียดอร่า | ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ |
ตำรวจ | ธัชชัย ปิตะนีละบุตร | แกรนด์ สปอร์ต | ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ |
ราชนาวี | สุรศักดิ์ ตังสุรัตน์ | แกรนด์ สปอร์ต | ไม่มีผู้สนับสนุนบนเสื้อ |
ตารางคะแนนเมื่อสิ้นสุดฤดูกาล
อันดับ | ทีม | แข่ง | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ประตูได้ | ประตูเสีย | +/- | แต้ม |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บีอีซี เทโรศาสน (C, Q) | 22 | 14 | 7 | 1 | 48 | 14 | +34 | 49 |
2 | ทหารอากาศ (Q) | 22 | 12 | 5 | 5 | 34 | 19 | +15 | 41 |
3 | ธนาคารกสิกรไทย | 22 | 10 | 7 | 5 | 33 | 25 | +8 | 37 |
4 | กรุงเทพมหานคร | 22 | 9 | 8 | 5 | 39 | 29 | +10 | 35 |
5 | การท่าเรือฯ | 22 | 8 | 6 | 8 | 18 | 21 | -3 | 30 |
6 | ราชนาวี | 22 | 5 | 11 | 6 | 21 | 22 | -1 | 26 |
7 | ตำรวจ | 22 | 6 | 8 | 8 | 25 | 27 | -2 | 26 |
8 | โอสถสภา | 22 | 6 | 8 | 8 | 15 | 20 | -5 | 26 |
9 | ธนาคารกรุงเทพ | 22 | 6 | 7 | 9 | 14 | 23 | -9 | 25 |
10 | ธนาคารกรุงไทย | 22 | 6 | 3 | 13 | 21 | 40 | -19 | 21 |
11 | สินธนา | 22 | 4 | 8 | 10 | 20 | 32 | -12 | 20 |
12 | องค์การโทรศัพท์ฯ | 22 | 6 | 2 | 14 | 26 | 42 | -16 | 20 |
ชนะเลิศและผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเชียน คลับ แชมเปียนส์ชิพ | |
ผ่านเข้ารอบไปเล่น เอเชียน คัพ วินเนอร์ส คัพ | |
เพลย์ออฟ เลื่อนชั้น/ตกชั้น | |
ยุบสโมสร |
รอบเพลย์ออฟ เลื่อนชั้น/ตกชั้น
รอบเพลย์ออฟ เลื่อนชั้น
สโมสรที่จบอันดับที่ 11 ต้องเล่น เพลย์ออฟ เลื่อนชั้น/ตกชั้น กับสโมสรรองชนะเลิศ ของ ดิวิชั่น 1 2543 โดย ผลการแข่งขันรวมสองนัด สินธนา ชนะ 3 - 2 ได้ลงเล่นใน ไทยลีก ฤดูกาลถัดไป
- เกมแรก
กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย | 1–0 | สินธนา |
---|---|---|
ณรงค์ศักดิ์ คงแก้ว 39' |
- เกมสอง
สินธนา | 3–1 | กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย |
---|---|---|
วรพร เขียวสังข์ 36' สุรชัย จิระศิริโชติ 40' สราวุธ ตะเอ 60' |
ฤทธิ นิสัยกล้า 81' (ลูกโทษ) |
รอบเพลย์ออฟ หาสโมสรแข่งขันแทน
ต่อมา สโมสรธนาคารกสิกรไทย ประกาศยุบสโมสร ทำให้ทีมอันดับสุดท้าย คือ สโมสรองค์การโทรศัพท์ฯ เล่นเพลย์ออฟ เพื่อหาสโมสรที่ 12 มาแข่งขันในลีก [2] โดยผลการแข่งขันรวมสองนัด องค์การโทรศัพท์ฯ ชนะ 4 - 0 ได้ลงเล่นใน ไทยลีก แทนที่ ธนาคารกสิกรไทย ที่ประกาศยุบสโมสรและถอนทีมออกจากการแข่งขัน
- เกมแรก
องค์การโทรศัพท์ฯ | 1–0 | กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย |
---|---|---|
สุทัศน์ เพี้ยนดิษฐ์ 47' |
- เกมสอง
กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย | 0–3 | องค์การโทรศัพท์ฯ |
---|---|---|
อนันต์ ปานทอง 75' สุทัศน์ เพี้ยนดิษฐ์ 80' ณัฐวุฒิ เขียวชะอุ่ม 88' |
อันดับผู้ทำประตูสูงสุด
16 ประตู[3]
15 ประตู
10 ประตู
- ส่งเสริม มาเพิ่ม - (ทหารอากาศ)
8 ประตู
7 ประตู
- สมฤทธิ์ อ่อนสมจิตร - (กรุงเทพมหานคร)
6 ประตู
- โกศล จันทชาติ - (ธนาคารกรุงไทย)
- ธเนศ บุญลาภ - (ธนาคารกรุงไทย)
- รณชัย สยมชัย - (การท่าเรือฯ)
5 ประตู
- ชมนันท์ สุขเกษม - (กรุงเทพมหานคร)
- เทิดศักดิ์ ใจมั่น - (กรุงเทพมหานคร)
- วุฒิเดช สวัสดิรัมย์ - (ทหารอากาศ)
- ณัฐพงศ์ เพชรน้อย - (ธนาคารกรุงเทพ)
- บำรุง บุญพรม - (ธนาคารกสิกรไทย)
- นิรุจน์ สุระเสียง - (บีอีซี เทโรศาสน)
- ขวัญชัย เฟื่องประกอบ - (ราชนาวี)
รางวัลประจำฤดูกาล
ผู้ฝึกสอนยอดเยี่ยมประจำปี
- พิชัย ปิตุวงศ์ - บีอีซี เทโรศาสน
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำปี
ภาพรวมหลังจากการแข่งขัน
- สโมสรธนาคารกสิกรไทย ประกาศยุบสโมสรและไม่ส่งทีมลงแข่งขันในทุกๆ รายการของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ เนื่องจากสโมสรประสบปัญหาทางการเงิน อันเนื่องมาจาก วิกฤตการณ์การเงินในปี 2540
อ้างอิง
- ↑ https://web.archive.org/web/20080921231705/http://www.fat.or.th/web/tpl2000.php การแข่งขันไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก ปี 2000 - เว็บไซต์เก่าสมาคมฟุตบอลฯ
- ↑ https://web.archive.org/web/20080921231705/http://www.fat.or.th/web/tpl2000.php การแข่งขันไทยแลนด์ พรีเมียร์ลีก ปี 2000 - เว็บไซต์เก่าสมาคมฟุตบอลฯ
- ↑ https://web.archive.org/web/20001214191500/http://www.scoretoday.com/league/Tha_Shot.html ดาวซัลโวคาลเท็กซ์ พรีเมียร์ลีก ถึงวันเสาร์ที่ 14 ธันวาคม 2543 - scoretoday.com