ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 – โซนกรุงเทพและปริมณฑล

ไทยลีก 3 โซนกรุงเทพและปริมณฑล
ฤดูกาล2566–67
วันที่16 กันยายน 2566 – 25 กุมภาพันธ์ 2567
จำนวนนัด70
จำนวนประตู209 (2.99 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเอ็นดูกา ราเลา อูเช
(9 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
6 ประตู
ม.เกษมบัณฑิต 6–0 โบลาเวน สมุทรปราการ
(11 พฤศจิกายน 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
8 ประตู
ดิไอคอน อาร์เอสยู 0–8 พราม แบงค็อก
(28 ตุลาคม 2566)
จำนวนประตูสูงสุด8 ประตู
ธนบุรี ยูไนเต็ด 5–3 ทหารอากาศ
(17 กันยายน 2566)
ดิไอคอน อาร์เอสยู 0–8 พราม แบงค็อก
(28 ตุลาคม 2566)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
9 นัด
บางกอก
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
10 นัด
บางกอก
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
10 นัด
นนทบุรี ยูไนเต็ด
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
4 นัด
นนทบุรี ยูไนเต็ด
จำนวนผู้ชมสูงสุด600 คน
บางกอก 3–0 ดิไอคอน อาร์เอสยู
(14 ตุลาคม 2566)
บางกอก 3–0 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
(29 ตุลาคม 2566)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม16,338 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย237 คน
2567–68 →
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2566

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 โซนกรุงเทพและปริมณฑล เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 7 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

สโมสร

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2566–67 โซนกรุงเทพและปริมณฑล มีจำนวน 14 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากฤดูกาล 2565–66 จำนวน 13 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก จำนวน 1 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2565–66
จามจุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(ปทุมวัน)
สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 20,000 5
ดิไอคอน อาร์เอสยู ปทุมธานี
(ธัญบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต 1 (ทีเอส)
ทหารบก กรุงเทพมหานคร
(ทวีวัฒนา)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 1,000 9
ทหารอากาศ ปทุมธานี
(ลำลูกกา)
สนามกีฬาธูปะเตมีย์ 25,000 13
ธนบุรี ยูไนเต็ด กรุงเทพมหานคร
(หนองแขม)
ธนบุรีสเตเดียม 3,500 12
นนทบุรี ยูไนเต็ด นนทบุรี
(เมืองนนทบุรี)
นนทบุรีสเตเดียม 12,000 8
บางกอก กรุงเทพมหานคร
(ทุ่งครุ)
สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด 8,000 2
โบลาเวน สมุทรปราการ สมุทรปราการ สมุทรปราการสเตเดียม 6,800 7
พราม แบงค็อก กรุงเทพมหานคร
(บางกะปิ)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยรามคำแหง 4
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ร่มเกล้า 1,000 6
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปทุมธานี
(ธัญบุรี)
สนามกีฬามหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต 1,550 1
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ นนทบุรี
(เมืองนนทบุรี)
สนามกีฬาศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ เทศบาลนครนนทบุรี 6,000 11
สมุทรสาคร ซิตี้ สมุทรสาคร สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสมุทรสาคร 3
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก กรุงเทพมหานคร
(มีนบุรี)
สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 10,000 10

ข้อมูลสโมสร

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
จามจุรี ยูไนเต็ด ไทย อดุลย์ ลือกิจนา ไทย ชามิล ศรีตองอ่อน เอฟบีที
ดิไอคอน อาร์เอสยู ไทย กฤษฎา แสงจันทร์ ไทย พูลศักดิ์ จากผา แซปเพิร์ต
ทหารบก ไทย ชัยวัฒน์ นาคเอี่ยม ไทย รุ่งศักดิ์ คชรักษ์ กีลา
ทหารอากาศ ไทย มนตรี แพรพันธ์ ไทย ศิริวัฒน์ โชติเวชารักษ์ กีลา
ธนบุรี ยูไนเต็ด ไทย เพ็ชรประเสริฐ แจ้งแช่ม ไทย จัตุรงค์ หลงศรีภูมิ อีโกสปอร์ต
นนทบุรี ยูไนเต็ด ไทย พิษณุ มาสุข ไทย บุญกวี บุญวรเมธี มาตา
บางกอก ไทย กฤษกร กระสายเงิน ไทย บรรจง ผดุงพัฒโนดม เอฟบีที
โบลาเวน สมุทรปราการ ไทย จิราวัฒน์ ไหลนานานุกูล ไทย อุกฤษณ์ ปี่แก้ว โวลต์
พราม แบงค็อก ไทย ธิดารัตน์ วิวาสุขุ ไทย ปาฏิหาริย์ สวนอนันต์ เน็กซ์
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ไทย กฤษณ์ สิงห์ปรีชา ไทย ไชยสาร หอมบุญ แกรนด์สปอร์ต
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ไทย ดำรงศักดิ์ บุญม่วง ไทย วรพัฒน์ สุขพันธ์ เอชทรีสปอร์ต
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ ไทย วิชาญชัย หาทรัพย์
ไทย มงคล ทศไกร
ไทย นาธาน รองเดช เอชทรีสปอร์ต
สมุทรสาคร ซิตี้ ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี โกตดิวัวร์ บีรัม ดียุฟ ว้าว
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก ไทย ชัยธัช อ่วมธรรม ไทย ศิริวัฒน์ สินธุรักษ์ ซีเอฟเอส

ผู้เล่นต่างชาติ

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
จามจุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1
เลกที่ 2
ดิไอคอน อาร์เอสยู เลกที่ 1 กานา โจเซฟ อเมนโย อิหร่าน อาห์มาดี เจาปารี อาลี อิหร่าน ทาเลชี เพย์แมน
เลกที่ 2
ทหารบก เลกที่ 1
เลกที่ 2
ทหารอากาศ เลกที่ 1 กานา เอ็มมานูเอล ควาเม อะคาดอม อังกฤษ คารัม อีดริส
เลกที่ 2
ธนบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1 อาร์เจนตินา รามิโร ริซาโซ เยอรมนี โฟลดีน บาโลคิ ไนจีเรีย ไบรต์ ฟรายเดย์
เลกที่ 2
นนทบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1 กินี ดีย็อป บาดารา อาลี โกตดิวัวร์ โฌแซ็ฟ หลุยส์ กิซซี
เลกที่ 2
บางกอก เลกที่ 1 บราซิล ดูดู ลีมา ญี่ปุ่น โกชิ โอกูโบะ ญี่ปุ่น เซยะ โคจิมะ
เลกที่ 2
โบลาเวน สมุทรปราการ เลกที่ 1 อาร์เจนตินา ลูกัส ดานิเอล เกาหลีใต้ คิม เซ-จิน เกาหลีใต้ ทอมัส เซฮย็อน เนลสัน
เลกที่ 2
พราม แบงค็อก เลกที่ 1 โกตดิวัวร์ บูดา อ็องรี อีซมาแอล สวีเดน วิลเลียม ควิสต์ เกาหลีใต้ โช อู-ฮย็อก
เลกที่ 2
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต เลกที่ 1 ไนจีเรีย เอ็นดูกา ราเลา อูเช ไนจีเรีย โซดิก อเดเยมี อเดโมลา ไนจีเรีย ทอมัส ชินอนโซ
เลกที่ 2
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ เลกที่ 1 บราซิล ชียากู ดูชาร์ต ไนจีเรีย ไมเคิล อลีอู เกาหลีใต้ คิม ซ็อง-ซู
เลกที่ 2
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ เลกที่ 1
เลกที่ 2
สมุทรสาคร ซิตี้ เลกที่ 1 แคเมอรูน อเล็กซ์ เมอร์มอซ แคเมอรูน เซดริก กาฮัม โกตดิวัวร์ บีรัม ดียุฟ
เลกที่ 2
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก เลกที่ 1 กานา ซาร์โฟ โอทิส อัดเจ
เลกที่ 2

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์

  • ดิไอคอน อาร์เอสยู ย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต แทนเอ็นทีสเตเดียม
  • ทหารบก ย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี แทนสนามกีฬาโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
  • เอสทีเค เมืองนนท์ เปลี่ยนชื่อเป็นวีอาร์เอ็น เมืองนนท์ และมีการเปลี่ยนโลโก้ใหม่
  • สมุทรสาคร ซิตี้ ย้ายไปใช้สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสมุทรสาคร แทนสนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
สมุทรสาคร ซิตี้ ไทย ยศกร ศิลาเกษ แยกทาง มีนาคม 2566 ก่อนเริ่มฤดูกาล ไนจีเรีย อเดบาโย กาเดโบ 16 มิถุนายน 2566[1]
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ ไทย อัครัช นวลละออง 3 กรกฎาคม 2566[2]
นนทบุรี ยูไนเต็ด โกตดิวัวร์ อาบดูล กูลีบาลี มิถุนายน 2566 ไทย พิษณุ มาสุข 4 สิงหาคม 2566[3]
ธนบุรี ยูไนเต็ด ไทย ปรมินทร์ ไชยเฉลิม ปรับโครงสร้าง กรกฎาคม 2566 ไทย เพ็ชรประเสริฐ แจ้งแช่ม กรกฎาคม 2566[4]
โบลาเวน สมุทรปราการ ออสเตรเลีย แดนนี อินวินซิบิเล แยกทาง ไทย จิราวัฒน์ ไหลนานานุกูล 5 กันยายน 2566[5]
สมุทรสาคร ซิตี้ ไนจีเรีย อเดบาโย กาเดโบ 12 สิงหาคม 2566 ไทย สมชาย ชวยบุญชุม (รักษาการ) 12 สิงหาคม 2566
ไทย สมชาย ชวยบุญชุม (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ กันยายน 2566 ไทย รุ่งโรจน์ ทองถิ่นภู กันยายน 2566
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ ไทย อัครัช นวลละออง แยกทาง 9 ตุลาคม 2566 อันดับที่ 11 ไทย วิชาญชัย หาทรัพย์
ไทย มงคล ทศไกร
17 ตุลาคม 2566[6]
สมุทรสาคร ซิตี้ ไทย รุ่งโรจน์ ทองถิ่นภู 30 ตุลาคม 2566 อันดับที่ 2 ไทย ศรายุทธ ชัยคำดี 30 ตุลาคม 2566[7]

ตารางคะแนน

อันดับ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 บางกอก 10 9 1 0 24 6 +18 28 เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 ธนบุรี ยูไนเต็ด 10 7 1 2 22 10 +12 22
3 สมุทรสาคร ซิตี้ 10 6 1 3 22 8 +14 19
4 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 10 5 3 2 14 9 +5 18
5 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 10 5 2 3 24 9 +15 17
6 พราม แบงค็อก 10 4 3 3 19 9 +10 15
7 จามจุรี ยูไนเต็ด 10 4 3 3 11 15 −4 15
8 ทหารอากาศ 10 4 2 4 19 16 +3 14
9 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 10 2 4 4 14 15 −1 10
10 วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 10 2 4 4 7 13 −6 10
11 ดิไอคอน อาร์เอสยู 10 3 1 6 10 27 −17 10
12 โบลาเวน สมุทรปราการ 10 2 3 5 6 27 −21 9
13 ทหารบก 10 1 2 7 12 26 −14 5
14 นนทบุรี ยูไนเต็ด 10 0 2 8 5 19 −14 2 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันของทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียของทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้ของทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6.จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ[8]


อันดับตามสัปดาห์

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น

ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2566 อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน

เหย้า / เยือน CCU TIR RTA RAF TBU NUS BKK BSP PBK KBU NBU VMN SKC AIB
จามจุรี ยูไนเต็ด 0–3 0–0 2–1 1–0 0–3
ดิไอคอน อาร์เอสยู 2–4 2–1 3–2 0–8 0–0
ทหารบก 0–1 1–3 2–3 1–4 1–4 3–2
ทหารอากาศ 4–0 1–3 1–1 3–1 0–2
ธนบุรี ยูไนเต็ด 2–0 5–3 5–0 3–2 3–1
นนทบุรี ยูไนเต็ด 0–1 1–1 0–1 1–2 0–5
บางกอก 4–1 3–0 3–1 2–0 3–0
โบลาเวน สมุทรปราการ 1–1 1–0 1–1 0–0 0–6
พราม แบงค็อก 1–0 1–2 0–2 0–0
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 5–1 6–0 0–1 2–0 1–1
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 2–1 0–1 2–1 1–1 2–1
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 1–1 2–1 0–1 1–1 0–5
สมุทรสาคร ซิตี้ 5–1 0–0 3–1 1–2 1–0
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 1–1 1–1 2–0 1–1 0–2
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 19 พฤศจิกายน 2566. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ

ผู้ทำประตูสูงสุด

ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 ไนจีเรีย เอ็นดูกา ราเลา อูเช มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 9
2 อังกฤษ คารัม อีดริส ทหารอากาศ 8
บราซิล ดูดู ลีมา บางกอก
4 อาร์เจนตินา รามิโร ริซาโซ ธนบุรี ยูไนเต็ด 6
ไทย วิชญะ พรประสาท บางกอก
6 แคเมอรูน อเล็กซ์ เมอร์มอซ สมุทรสาคร ซิตี้ 5
7 ไทย ชวัลวิทย์ แซ่เล้า พราม แบงค็อก 4
ไทย ภพพล ศรีมาดี พราม แบงค็อก
ไทย อับดุลเราะห์มาน กีรานี เอ.เค. เอสซ่าดี พราม แบงค็อก
ไทย พิชชานนท์ จันทร์หลวง มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
โกตดิวัวร์ บีรัม ดียุฟ สมุทรสาคร ซิตี้
ไทย อาทิตย์ สุนทรพิธ สมุทรสาคร ซิตี้

แฮตทริก

ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
ไทย ชยพล พันวิเศษ เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก นนทบุรี ยูไนเต็ด 0–5 (A) 16 กันยายน 2566
อาร์เจนตินา รามิโร ริซาโซ ธนบุรี ยูไนเต็ด มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 3–2 (H) 21 ตุลาคม 2566
อิหร่าน อาห์มาดี เจาปารี อาลี ดิไอคอน อาร์เอสยู ทหารอากาศ 3–2 (H) 22 ตุลาคม 2566
ไทย ชวัลวิทย์ แซ่เล้า พราม แบงค็อก ดิไอคอน อาร์เอสยู 0–8 (A) 28 ตุลาคม 2566
ไนจีเรีย เอ็นดูกา ราเลา อูเช4 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต โบลาเวน สมุทรปราการ 6–0 (H) 11 พฤศจิกายน 2566

คลีนชีตส์

ณ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2566
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ไทย ภัทรพงษ์ เพ็ชรจรูญ ธนบุรี ยูไนเต็ด 4
ไทย ชิตชนะ ทักษิณพิลา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
ไทย สันติภาพ บุญเกลี้ยง สมุทรสาคร ซิตี้
4 ไทย ศักดิ์พล นิชกรรม จามจุรี ยูไนเต็ด 3
ไทย ยุทธสิทธิ์ จาดเมือง พราม แบงค็อก
6 ไทย วิชานนท์ ชมชื่น ทหารอากาศ 2
ไทย ณัฐพงษ์ ทองพุ่ม บางกอก
ไทย ญาณสิทธิ์ สุขเจริญ บางกอก
ไทย สนั่น อ่ำเกิด มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
ไทย ชัยภัทร หนบรรเลง วีอาร์เอ็น เมืองนนท์
ไทย พันธกริช บุญยะโชติ เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
12 ไทย อิทธิกร กุหลาบ ดิไอคอน อาร์เอสยู 1
ไทย พลณฤต สุดตา ดิไอคอน อาร์เอสยู
ไทย วัชระ หงษ์ทอง ทหารอากาศ
ไทย กฤษณุชา เหมือนเสน นนทบุรี ยูไนเต็ด
อาร์เจนตินา ลูกัส ดานิเอล โบลาเวน สมุทรปราการ
ไทย กรวิชญ์ มูมะหะหมัดซอและ โบลาเวน สมุทรปราการ
ไทย อธิธัช ชาญกล้า วีอาร์เอ็น เมืองนนท์
ไทย วรุฒ วงค์สมศักดิ์ สมุทรสาคร ซิตี้

ผู้ชม

สถิติผู้ชมทั้งหมด

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 บางกอก 2,700 600 500 540 +36.4%
2 พราม แบงค็อก 1,710 590 305 428 +72.6%
3 สมุทรสาคร ซิตี้ 1,711 419 288 342 +8.2%
4 ธนบุรี ยูไนเต็ด 1,252 327 117 250 −3.5%
5 มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 1,200 300 200 240 +60.0%
6 จามจุรี ยูไนเต็ด 1,190 250 220 238 +24.0%
7 ทหารอากาศ 1,135 396 143 227 +35.1%
8 ทหารบก 1,104 220 165 184 −2.1%
9 มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 885 320 120 177 +1.7%
10 วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 832 250 127 166 −14.0%
11 ดิไอคอน อาร์เอสยู 660 212 0 165 +41.0%
12 นนทบุรี ยูไนเต็ด 740 200 110 148 0.0%
13 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 685 200 32 137 +1.5%
14 โบลาเวน สมุทรปราการ 534 141 72 107 −30.1%
รวม 16,338 600 0 237 +16.2%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2566
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า

ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 รวม
จามจุรี ยูไนเต็ด 250 220 250 220 250 1,190
ดิไอคอน อาร์เอสยู 120 212 200 Unk.1 128 660
ทหารบก 165 185 185 165 220 184 1,104
ทหารอากาศ 396 186 221 189 143 1,135
ธนบุรี ยูไนเต็ด 320 263 225 327 117 1,252
นนทบุรี ยูไนเต็ด 150 150 200 130 110 740
บางกอก 500 500 600 600 500 2,700
โบลาเวน สมุทรปราการ 137 103 81 141 72 534
พราม แบงค็อก 590 390 305 425 1,710
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 300 300 200 200 200 1,200
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ 205 120 120 120 320 885
วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ 145 250 150 160 127 832
สมุทรสาคร ซิตี้ 419 355 340 288 309 1,711
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 163 32 104 200 186 685

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2566 (ดิไอคอน อาร์เอสยู 0–8 พราม แบงค็อก)

อ้างอิง

  1. ""สมุทรสาคร ซิตี้" ตั้ง "อเดบาโย่ กาเดโบ้" นั่งแม่ทัพคนใหม่". ballthai.com. 17 June 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  2. "วีอาร์เอ็นฯ ตั้ง โค้ชเอ็ม นั่งกุนซือเต็มตัวลุยซีซั่น 2023/24". supersubthailand.com. 3 July 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  3. "นนทบุรียูฯ ตั้ง โค้ชกบ นั่งกุนซือ-รีเทิร์นคุมบอลชายในรอบ 3 ปี". supersubthailand.com. 2 August 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  4. "ธนบุรียูฯ เดินเครื่องตั้ง โค้ชเพชร นั่งกุนซือ ดันโค้ชบอลนั่งเทคนิค". supersubthailand.com. 4 July 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  5. "แข้งเทพส่งโค้ชพีทคุมป้อมปราการลุย T3". supersubthailand.com. 5 September 2023. สืบค้นเมื่อ 6 October 2023.
  6. "วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ ตั้ง มงคล ทศไกร นั่งกุนซือคู่ ลุยไทยลีก 3". goal.com. 17 October 2023. สืบค้นเมื่อ 21 October 2023.
  7. "สะเทือนไทยลีก 3! สมุทรสาครตั้ง 'โจ้ 5 หลา' คัมแบ็กคุมทัพ, เป้าหมายเลื่อนชั้น⁣". goal.com. 30 October 2023. สืบค้นเมื่อ 6 November 2023.
  8. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2566/67" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.