Nepenthes bongso

Nepenthes bongso
สถานะการอนุรักษ์

ไม่มั่นคง  (IUCN 2.3)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: พืช (Plantae)
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Caryophyllales
วงศ์: Nepenthaceae
สกุล: Nepenthes
สปีชีส์: N.  bongso
ชื่อทวินาม
Nepenthes bongso
Korth. (1839)
ชื่อพ้อง
  • Nepenthes bongso
    sensu Danser (1928)
    [=N. bongso/N. ovata/N. talangensis]
  • Nepenthes bongso
    sensu Sh.Kurata (1973)
    [=N. bongso/N. ovata/N. talangensis]
  • Nepenthes bongso
    auct. non Korth.: Guillaum. (1911)
    [=N. vieillardii]
  • Nepenthes bongso
    auct. non Korth.: Jebb & Cheek (1997)
    [=N. bongso/N. talangensis]
  • Nepenthes bongso
    auct. non Korth.: Ridl. (1908)
    [=N. gracillima]
  • Nepenthes bongso
    auct. non Korth.: Tamin & M.Hotta in M.Hotta (1986)
    [=N. bongso/N. dubia/N. inermis]

Nepenthes bongso ( จากภาษาอินโดนีเซีย: Putri Bungsu = ลูกสาวคนเล็ก; อ้างถึงตำนานท้องถิ่นของวิญญาณผู้พิทักษ์ภูเขามาราปี (Marapi) ) เป็นหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่สูงของเกาะสุมาตรา ขึ้นสูงจากระดับน้ำทะเล 1000-2700 เมตร มันมีลักษณะคล้ายกับ N. carunculata และมีการโต้แย้งกันว่าควรถือเอา 2 ชนิดนี้เป็นชนิดเดียวกันหรือไม่

N. bongso ไม่มีการจัดจำแนกรูปแบบหรือความหลากหลาย (ยกเว้น N. carunculata ที่ถูกพิจารณาเป็นชนิดเดียวกัน)

อนุกรมวิธาน

ความแตกต่างระหว่าง N. bongso, N. dubia, N. talangensis และ N. tenuis (Nerz & Wistuba, 1994)
ลักษณะ N. bongso N. dubia N. talangensis N. tenuis
รูปร่างของหม้อบน รูปหลอด - รูปลำโพง รูปหลอดในส่วนล่าง, รูปลำโพงเหนือส่วนกลาง รูปหลอดถึงรูปกรวยแคบในครึ่งล่าง,รูปไข่ในครึ่งบน รูปลำโพงกว้าง, แคบลงตรงใต้ปาก
ฝาหม้อ รูปวงกลม รูปลิ่มแคบ รูปไข่กว้าง รูปรีแคบมาก
อัตราส่วน ความยาว/ความกว้าง ของหม้อบน 3,3 1,9 2,3 1,75

ลูกผสมทางธรรมชาติ

ในปี ค.ศ. 1928 The Nepenthaceae of the Netherlands Indies (หม้อข้าวหม้อแกงลิงแห่งหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์) " เอกสารเฉพาะเรื่องของ บี.เอช. แดนเซอร์ (B. H. Danser) กล่าวถึงหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่เขาคิดว่าเป็นลูกผสมของ N. bongso × N. pectinata อย่างไรก็ตามพืชชนิดนี้กลับกลายเป็น N. densiflora ที่ถูกจัดจำแนกใน 12 ปีต่อมาโดยแดนเซอร์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 Clarke, C.M. 2001. Nepenthes of Sumatra and Peninsular Malaysia. Natural History Publications (Borneo) , Kota Kinabalu.