ประเทศองค์ประกอบ
ประเทศองค์ประกอบ (อังกฤษ: constituent country) เป็นคำที่บางครั้งใช้เรียกประเทศที่มีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยทางการเมืองที่ใหญ่กว่า เช่น รัฐเอกราช คำว่าประเทศองค์ประกอบนี้ไม่มีความหมายในทางกฎหมาย และใช้เรียก ประเทศ ที่เป็นส่วนประกอบหนึ่งของหน่วยอื่นเท่านั้น
ในรัฐเดี่ยว
เดนมาร์ก
ประเทศ | เมืองหลวง | ราชอาณาจักรเดนมาร์ก |
---|---|---|
![]() |
โคเปนเฮเกน | ราชอาณาจักรเดนมาร์ก |
![]() |
ทอร์สเฮาน์ | |
![]() |
นุก |
ฝรั่งเศส
ประเทศ | เมืองหลวง | สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 | |
---|---|---|---|
![]() |
ปารีส | สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 | |
![]() |
นูเมอา | อาณานิคมลักษณะเฉพาะตัว | |
![]() |
ปาเปเอเต | "ประเทศโพ้นทะเล" | |
![]() |
กุสตาวียา | อาณานิคมโพ้นทะเล | |
![]() |
มารีโก | ||
![]() |
แซ็ง-ปีแยร์ | ||
![]() |
มาตา-อูตู |
เนเธอร์แลนด์
ประเทศ | เมืองหลวง | ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ |
---|---|---|
![]() |
อัมสเตอร์ดัม | ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ |
![]() |
โอรันเยสตัด | |
![]() |
วิลเลมสตัด | |
![]() |
ฟีลิปส์บืร์ค |
นิวซีแลนด์
ประเทศ | เมืองหลวง | ราชอาณาจักรนิวซีแลนด์ |
---|---|---|
![]() |
เวลลิงตัน | ราชอาณาจักรนิวซีแลนด์ |
![]() |
อาวารัว | |
![]() |
อาโลฟี |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
เอมิเรต | เมืองหลวง | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
![]() |
อาบูดาบี | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
![]() |
อัจญ์มาน | |
![]() |
ดูไบ | |
![]() |
ฟุญัยเราะฮ์ | |
![]() |
เราะซุลคัยมะฮ์ | |
![]() |
ชัรญะฮ์ | |
![]() |
อุมม์อัลกุเวน |
สหราชอาณาจักร
ประเทศ | เมืองหลวง | สหราชอาณาจักร |
---|---|---|
![]() |
ลอนดอน | สหราชอาณาจักร |
![]() |
เอดินบะระ | |
![]() |
คาร์ดิฟฟ์ | |
![]() |
เบลฟาสต์ |
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ประเทศ | เมืองหลวง | บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา |
---|---|---|
![]() |
บันยาลูกา | บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา |
![]() |
ซาราเยโว |
จีน
จีนไม่มีการระบุองค์ประกอบ แต่ประกอบด้วยเขตบริหารพิเศษฮ่องกงและเขตบริหารพิเศษมาเก๊า
ในสหพันธรัฐ
สหภาพโซเวียต
แผนที่สหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตระหว่าง ค.ศ. 1956–1991![]() | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต | สมาชิก ตั้งแต่ |
ประชากร (ค.ศ. 1989) |
ประชากร/ ประชากรของสหภาพ (ร้อยละ) |
เนื้อที่ (ตร.กม.) (ค.ศ. 1991) |
เนื้อที่/ เนื้อที่ของสหภาพ (ร้อยละ) |
เมืองหลวง |
รัฐเอกราช |
หมายเลข | |||||||
![]() |
1922 | 147,386,000 | 51.40 | 17,075,400 | 76.62 | มอสโก | ![]() |
1 | |||||||
![]() |
1922 | 51,706,746 | 18.03 | 603,700 | 2.71 | เคียฟ (คาร์คิฟ ก่อน ค.ศ. 1934) |
![]() |
2 | |||||||
![]() |
1924 | 19,906,000 | 6.94 | 447,400 | 2.01 | ทาชเคนต์ (ซามาร์กันต์ ก่อน ค.ศ. 1930) |
![]() |
4 | |||||||
![]() |
1936 | 16,711,900 | 5.83 | 2,727,300 | 12.24 | อัลมา-อะตา | ![]() |
5 | |||||||
![]() |
1922 | 10,151,806 | 3.54 | 207,600 | 0.93 | มินสค์ | ![]() |
3 | |||||||
![]() |
1936 | 7,037,900 | 2.45 | 86,600 | 0.39 | บากู | ![]() |
7 | |||||||
![]() |
1936 | 5,400,841 | 1.88 | 69,700 | 0.31 | ทบิลิซี | ![]() |
6 | |||||||
![]() |
1929 | 5,112,000 | 1.78 | 143,100 | 0.64 | ดูชานเบ | ![]() |
12 | |||||||
![]() |
1940 | 4,337,600 | 1.51 | 33,843 | 0.15 | คิชิเนฟ | ![]() |
9 | |||||||
![]() |
1936 | 4,257,800 | 1.48 | 198,500 | 0.89 | ฟรุนเซ | ![]() |
11 | |||||||
![]() |
1940 | 3,689,779 | 1.29 | 65,200 | 0.29 | วิลนีอุส | ![]() |
8 | |||||||
![]() |
1924 | 3,522,700 | 1.23 | 488,100 | 2.19 | อาชกาบัต | ![]() |
14 | |||||||
![]() |
1936 | 3,287,700 | 1.15 | 29,800 | 0.13 | เยเรวาน | ![]() |
13 | |||||||
![]() |
1940 | 2,666,567 | 0.93 | 64,589 | 0.29 | รีกา | ![]() |
10 | |||||||
![]() |
1940 | 1,565,662 | 0.55 | 45,226 | 0.20 | ทาลลินน์ | ![]() |
15 |
ยูโกสลาเวีย
ประเทศ | เมืองหลวง | การจัดแบ่งประเภท | เกิดใหม่ |
---|---|---|---|
![]() |
ซาราเยโว | สาธารณรัฐสังคมนิยม | ![]() |
![]() |
ซาเกร็บ | ![]() | |
![]() |
ตีโตกราด | ![]() | |
![]() |
สโกเปีย | ![]() | |
![]() |
เบลเกรด | ![]() | |
![]() |
ลูบลิยานา | ![]() | |
จังหวัดปกครองตนเองสังคมนิยมคอซอวอ | พริสตีนา | จังหวัดปกครองตนเองสังคมนิยม | ![]() |
จังหวัดปกครองตนเองสังคมนิยมวอยวอดีนา | นอวีซาด | ![]() |
เชโกสโลวาเกีย
ประเทศ | เมืองหลวง | เกิดใหม่ |
---|---|---|
![]() |
ปราก | ![]() |
![]() |
บราติสลาวา | ![]() |
เซนต์คิตส์และเนวิส
ตามความในรัฐธรรมนูญ เกาะเนวิสมีสิทธิตามรัฐธรรมนูญที่จะแยกตัวออกจากสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิสและกลายเป็นรัฐเอกราชได้ การจัดการลงประชามติแยกตัวของเนวิสเกิดขึ้นเมือวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 1998 โดยมีประชากรชาวเนวิสลงคะแนนเสียงร้อยละ 62 เพื่อสนับสนุนการแยกตัว อย่างไรก็ตามไม่สามารถแยกตัวเป็นเอกราชได้ เนื่องจากไม่ถึง 2 ใน 3 ซึ่งถูกกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ[6] จึงอาจกล่าวได้ว่าทั้งเซนต์คิสและเนวิสเป็นประเทศองค์ประกอบของสหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
ประเทศ | เมืองหลวง | เกิดใหม่ |
---|---|---|
![]() |
เบลเกรด | ![]() |
![]() |
พอดกอรีตซา | ![]() |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ↑ "The North Atlantic area and The West Nordic Council". Vestnordisk Råd. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2011.
- ↑ "Factsheet Denmark: Greenland" (PDF). Royal Danish Ministry of Foreign Affairs. มกราคม 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 26 กรกฎาคม 2011.
- ↑ "The Cook Islands Government Online". Cook Islands Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 สิงหาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2011.
- ↑ "AusAid". Australian Government. 23 กันยายน 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 มกราคม 2012. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2008.
- ↑ "Niue". Australian Department of Foreign Affairs and Trade. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 ธันวาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2011.
- ↑ "Federation of St. Kitts and Nevis / Federación de San Kitts y Nevis: 1998 Referendum". Political Database of the Americas. Georgetown University. 22 กันยายน 2005. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2014.