ฟุตบอลหญิงทีมชาติจีน

ฟุตบอลหญิงทีมชาติจีน
Shirt badge/Association crest
ฉายา铿锵玫瑰 Kēngqiāng Méiguī
(กุหลาบเหล็ก)
สมาคมสมาคมฟุตบอลจีน
สมาพันธ์ย่อยอีเอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออก)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนShui Qingxia
กัปตันอู๋ ไห่เยี่ยน
ติดทีมชาติสูงสุดผู่ เหว่ย (219)
ทำประตูสูงสุดซุน เหวิน (106)
รหัสฟีฟ่าCHN
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 15 ลดลง 1 (25 สิงหาคม 2023)[1]
อันดับสูงสุด4 (กรกฎาคม ค.ศ. 2003)
อันดับต่ำสุด19 (สิงหาคม ค.ศ. 2012)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 2–1 จีน ธงชาติจีน
(แยโซโล ประเทศอิตาลี; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1986)
ชนะสูงสุด
ธงชาติจีน จีน 21–0 ฟิลิปปินส์ ธงชาติฟิลิปปินส์
(โกตากีนาบาลู ประเทศมาเลเซีย; 24 กันยายน ค.ศ. 1995)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 8–0 จีน ธงชาติจีน
(เพทรัส ประเทศกรีซ; 11 สิงหาคม ค.ศ. 2004)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม7 (ครั้งแรกใน 1991)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ, 1999)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม13 (ครั้งแรกใน 1986)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1986, 1989, 1991, 1993, 1995, 1997, 1999, 2006, 2022)
เกียรติยศ
ฟุตบอลโลก
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 1999 สหรัฐ ฟุตบอลโลกหญิง 1999
โอลิมปิกดูร้อน
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ แอตแลนตา 1996 ทีม
เอเชียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ปักกิ่ง 1990 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮิโรชิมะ 1994 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กรุงเทพ 1998 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ปูซาน 2002 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ จาการ์ตา 2018 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โดฮา 2006 ทีม

ฟุตบอลหญิงทีมชาติจีน (จีน: 中国国家女子足球队; พินอิน: Zhōngguó Guójiā Nǚzǐ Zúqiú Duì; อังกฤษ: China women's national football team) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐประชาชนจีนในการแข่งขันฟุตบอลหญิงระดับนานาชาติ[2] ซึ่งได้รับการดูแลโดยสมาคมฟุตบอลจีน (ซีเอฟเอ) ทีมนี้มักได้รับการเรียกในภาษาพูดในชื่อ "ทีมจีน" (中国队), "ทีมชาติ" (国家队) หรือ "กว๋อจู๋" (国足 หรือเขียนแบบสั้นเป็น 国家足球 ซึ่งหมายถึง "ฟุตบอลทีมชาติ")

สถิติ

ทีมชาติจีนเป็นทีมที่สามารถครองสถิติ 442 นาทีโดยไม่สูญเสียประตูในการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง จนกระทั่งสถิติดังกล่าวได้ถูกทำลายลงโดยฟุตบอลหญิงทีมชาติเยอรมนีเมื่อวันที่ 26 กันยายน ค.ศ. 2007 โดยทีมชาติเยอรมนีสามารถเป็นฝ่ายเอาชนะทีมชาตินอร์เวย์ที่ 3 ประตูต่อ 0 ในรอบรองชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2007 [3]

เกียรติประวัติ

รองชนะเลิศ (1 สมัย): ค.ศ. 1999
รองชนะเลิศ (1 สมัย): ค.ศ. 1996 [4][5]
ผู้ชนะ (เจ้าของสถิติ 8 สมัย): ค.ศ. 1986, 1989, 1991, 1993, 1995, 1997, 1999, 2006
รองชนะเลิศ (2 สมัย): ค.ศ. 2003, 2008
อันดับสาม (1 สมัย): ค.ศ. 2001, 2014
  • อัลการ์ฟคัพ
ผู้ชนะ (2 สมัย): ค.ศ. 1999, 2002
รองชนะเลิศ (2 สมัย): ค.ศ. 1997, 2003
อันดับสาม (3 สมัย): ค.ศ. 1996, 2000, 2001
ผู้ชนะ (เจ้าของสถิติ 3 สมัย): ค.ศ. 1990, 1994, 1998
รองชนะเลิศ (1 สมัย): ค.ศ. 2002
อันดับสาม (1 สมัย): ค.ศ. 2006
  • ฟุตบอลหญิงอีสต์เอเชียนคัพ
รองชนะเลิศ (1 สมัย): ค.ศ. 2008

อ้างอิง

  1. "The FIFA/Coca-Cola Women's World Ranking". FIFA. 25 สิงหาคม 2023. สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2023.
  2. Joshua Frank (1986-03-01). "Missing from the World Cup? China". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 2012-10-31.
  3. "BBC SPORT | Football | Women | Germany 3-0 Norway". BBC News. 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 2012-10-31.
  4. By JERE LONGMANPublished: July 10, 1999 (1999-07-10). "SOCCER: WOMEN'S WORLD CUP; Soccer's Move: Grass Roots to Grand Stage - New York Times". Nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 2012-10-31.
  5. By GEORGE VECSEYPublished: August 02, 1996 (1996-08-02). "Women's Soccer: 76,481 Fans, 1 U.S. Gold - New York Times". Nytimes.com. สืบค้นเมื่อ 2012-11-01.

แหล่งข้อมูลอื่น