ภาษาจีนฮากกา

ภาษาจีนฮากกา
客家话
Hak-kâ-va/Hak-kâ-fa
"เค่อเจียฮว่า" ในอักษรจีน
ภูมิภาคจีนใต้และตะวันตกเฉียงใต้ มีจุดศูนย์กลางที่มณฑลกวางตุ้ง, นิวเทอร์ริทอรีส์ในฮ่องกง, มาเลเซีย, เจอะเลิ้น ในประเทศเวียดนาม และหมู่เกาะบังกาเบอลีตุงและจังหวัดกาลีมันตันตะวันตกในประเทศอินโดนีเซีย
ชาติพันธุ์ฮากกา
จำนวนผู้พูด44 ล้านคน  (2022)e27
ตระกูลภาษา
จีน-ทิเบต
รูปแบบก่อนหน้า
จีน-ทิเบตดั้งเดิม
  • ภาษาจีนเก่า
    • ภาษาฮากกา-เชอดั้งเดิม[1][2]
      • ภาษาฮากกาดั้งเดิม
        • ภาษาจีนฮากกา
ภาษาถิ่น
เหมย์เซี่ยน
ทิงโจว
ซื่อเซี่ยน
ฮุ่ยโจว
ระบบการเขียน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการไต้หวัน[a][6]
ผู้วางระเบียบ
  • ไต้หวัน:
    กระทรวงศึกษาธิการ
    สภากิจการฮากกา
  • จีน:
    กรมการศึกษามณฑลกวางตุ้ง
รหัสภาษา
ISO 639-3hak
Linguasphere79-AAA-g > 79-AAA-ga (+ 79-AAA-gb transition to 79-AAA-h)
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด
ฮากกา
อักษรจีนตัวย่อ客家话
อักษรจีนตัวเต็ม客家話
ฮากกาhag5 ga1 fa4
หรือ hag5 ga1 va4
ผู้พูดภาษาจีนฮากกา บันทึกที่ไต้หวัน

ภาษาแคะ, ภาษาฮากกา หรือ เค่อเจียฮว่า (จีน: 客家话; พินอิน: Kèjiāhuà; พักฟ้าซื้อ: Hak-kâ-va / Hak-kâ-fa, จีน: 客家语; พินอิน: Kèjiāyǔ; พักฟ้าซื้อ: Hak-kâ-ngî) คือหนึ่งในภาษาของตระกูลกลุ่มภาษาจีนที่ชาวฮากกาพูดเป็นภาษาแม่ในพื้นที่ประเทศจีนตอนใต้ ไต้หวัน และพื้นที่พลัดถิ่นบางแห่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และในชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลก

หมายเหตุ

  1. ภาษาประจำชาติในไต้หวัน;[3] นอกจากนี้ ยังมีสถานะตามกฎหมายในไต้หวัน โดยเป็นหนึ่งในภาษาสำหรับประกาศเกี่ยวกับการขนส่งสาธารณะ[4] และในแบบทดสอบการแปลงสัญชาติ[5]

อ้างอิง

  1. Nakanishi 2010.
  2. Coblin 2019, p. 438-440.
  3. Fan, Cheng-hsiang; Kao, Evelyn (2018-12-25). "Draft National Language Development Act Clears Legislative Floor". Focus Taiwan News Channel (ภาษาอังกฤษ). Central News Agency. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-25.
  4. "Dàzhòng yùnshū gōngjù bòyīn yǔyán píngděng bǎozhàng fǎ" 大眾運輸工具播音語言平等保障法 [Act on Broadcasting Language Equality Protection in Public Transport] (ภาษาจีน) – โดยทาง Wikisource.
  5. Article 6 of the Standards for Identification of Basic Language Abilities and General Knowledge of the Rights and Duties of Naturalized Citizens เก็บถาวร 2017-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. "Hakka Basic Act". สืบค้นเมื่อ 22 May 2019 – โดยทาง law.moj.gov.tw.

อ่านเพิ่ม

  • O'Connor, Kevin A. (1976). "Proto-Hakka". Ajia Afurika Gengo Bunka Kenkyū / Journal of Asia and Africa Studies. 11 (1): 1–64.
  • Sagart, Laurent (1998). "On distinguishing Hakka and non-Hakka dialects". Journal of Chinese Linguistics. 26 (2): 281–302. JSTOR 23756757.
  • ——— (2002). "Gan, Hakka and the Formation of Chinese Dialects" (PDF). ใน Ho, Dah-an (บ.ก.). Dialect Variations in Chinese: Papers from the Third International Conference on Sinology, Linguistics Section (ภาษาอังกฤษ). Taipei: Academia Sinica. pp. 129–153. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-14. สืบค้นเมื่อ 2016-04-05.
  • Schaank, Simon Hartwich (1897). Het Loeh-foeng-dialect (ภาษาดัตช์). Leiden: E.J. Brill. สืบค้นเมื่อ 11 February 2015.
  • Taiwan Language Tool (including Hakka)
  • Nakanishi, Hiroki (2010). "On the genetic affiliation of Shehua 《论畬话的归属》". Journal of Chinese Linguistics (ภาษาจีน). The Chinese University of Hong Kong Press. 24: 247–267. JSTOR 23825447 – โดยทาง JSTOR.
  • Coblin, W. South (2019). Common Neo-Hakka: A Comparative Reconstruction. Language and linguistics Monograph Series 63. Taipei: Institute of Linguistics, Academia Sinica. ISBN 978-986-54-3228-7.