สกุลอี

สกุลอี

พระราชอิสริยยศ
  • พระราชาเกาหลี
  • จักรพรรดิเกาหลี
  • มกุฎราชกุมารเกาหลี
  • มกุฏราชกุมารีเกาหลี
ปกครอง เกาหลี
โชซ็อน
สาขาสกุลย่อยฝ่ายชาย 125 สกุล (ปัจจุบันยังมีอยู่ราว 105 สกุล) เช่น
  • สกุลของจินอันแทกุน
  • สกุลของฮยอ-รย็องแทกุน
  • สกุลของควังพย็องแทกุน
  • สกุลของท็อกช็อนกุน
  • สกุลของมิลซ็องกุน
  • สกุลของยังนย็องแทกุน
ประมุขพระองค์แรกอี ซ็อง-กเย (พระเจ้าแทโจ)
ผู้นำสกุลองค์ปัจจุบันอี ซ็อก[1]
ประมุขพระองค์สุดท้ายอี ช็อก (พระเจ้าซุนจง)
สถาปนา17 กรกฎาคม ค.ศ. 1392 (วันที่ก่อตั้งราชอาณาจักรโชซ็อน)
ล่มสลายค.ศ. 1910 (ปีที่ทำสนธิสัญญาญี่ปุ่น–เกาหลี ค.ศ. 1910)
เชื้อชาติเกาหลี

สกุลอี (อังกฤษ: House of Yi), ราชวงศ์อี (อังกฤษ: Yi Dynasty), ราชสกุลเกาหลี (อังกฤษ: Korean Imperial Household), หรือเรียก สกุลอีแห่งช็อนจู (อังกฤษ: Yi clan of Jeonju) เพราะมีศูนย์กลางอยู่ ณ ช็อนจู เป็นวงศ์ตระกูลแห่งราชอาณาจักรโชซ็อนและจักรวรรดิเกาหลี ประกอบด้วยเชื้อสายของอี ซ็อง-กเย ผู้สถาปนาราชอาณาจักรโชซ็อน และขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแทโจ

หลังจากมีสนธิสัญญาญี่ปุ่น–เกาหลี ค.ศ. 1910 ซึ่งให้จักรวรรดิญี่ปุ่นผนวกคาบสมุทรเกาหลีเข้ากับตนได้นั้น สมาชิกบางคนของสกุลอีก็ถูกรัฐบาลญี่ปุ่นผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชวงศ์ญี่ปุ่นและตระกูลขุนนางญี่ปุ่น[2] จนถึง ค.ศ. 1947 หนึ่งปีก่อนที่จะมีการตรารัฐธรรมนูญญี่ปุ่น[3]

ตามรัฐธรรมนูญเกาหลีใต้ มาตรา 11 รัฐบาลเกาหลีไม่ยอมรับชนชั้นวรรณะใด ๆ ที่มีอภิสิทธิ์เหนือผู้อื่น[4][5] แต่ปัจจุบันราชวงศ์ก็ยังมีอยู่ในฐานะสัญลักษณ์ซึ่งมีสิทธิพิเศษบางประการ และเป็นที่สนใจของสื่อมวลชนเกาหลีใต้อยู่เป็นระยะ ๆ ดังเช่นกรณีงานศพของอี กู หัวหน้าสกุลอี ที่จัดขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2005 หรือการปรากฏตัวของอี ซ็อก ในงานฉลองการประกาศเอกราชครบ 100 ปีเมื่อวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2019[6]

นับแต่อี กู ถึงแก่ชีวิตใน ค.ศ. 2005 สมาคมหลานหลวง (Imperial Grandsons Association) ซึ่งมีสมาชิกของสกุลอีและรัฐบาลนครช็อนจูเป็นผู้ดำเนินการนั้น ถือเอาอี ซ็อก เป็นหัวหน้าคนใหม่ของสกุลอี[7][8]

ลำดับเชื้อสาย

ลำดับเชื้อสายสกุลอี

– – – – – – - เส้นประ หมายถึง การรับเป็นบุตรบุญธรรม

(?–1274)
Yi Ansa(Mokjo)
(?–?)
Yi Haengri(Ikjo)
(?–1342)
Yi Chun(Dojo)
ค.ศ. 1315 – ค.ศ. 1360
อี จา-ชุน

พระมหากษัตริย์
แห่งโชซ็อน
ค.ศ. 1335 – ค.ศ. 1408

พระเจ้าแทโจ
ค.ศ. 1392 – ค.ศ. 1398(1)
ค.ศ. 1357 – ค.ศ. 1419

พระเจ้าช็องจง
ค.ศ. 1398 – ค.ศ. 1400(2)
ค.ศ. 1367 – ค.ศ. 1422

พระเจ้าแทจง
ค.ศ. 1400 – ค.ศ. 1418(3)
[note 1]
ค.ศ. 1397 – ค.ศ. 1450

พระเจ้าเซจง
มหาราช

ค.ศ. 1418 – ค.ศ. 1450(4)
ค.ศ. 1414 – ค.ศ. 1452

พระเจ้ามุนจง
ค.ศ. 1450 – ค.ศ. 1452(5)
ค.ศ. 1417 – ค.ศ. 1468

พระเจ้าเซโจ
ค.ศ. 1455 – ค.ศ. 1468(7)
ค.ศ. 1441 – ค.ศ. 1457

พระเจ้าทันจง
ค.ศ. 1452 – ค.ศ. 1455(6)
ค.ศ. 1438 – ค.ศ. 1457
องค์ชายรัชทายาท
อึยคย็อง
ค.ศ. 1450 – ค.ศ. 1469

พระเจ้าเยจง
ค.ศ. 1468 – ค.ศ. 1469(8)
ค.ศ. 1457 – ค.ศ. 1494

พระเจ้าซ็องจง
ค.ศ. 1469 – ค.ศ. 1494(9)
[note 2]
ค.ศ. 1476 – ค.ศ. 1506

องค์ชายย็อนซัน
ค.ศ. 1494 – ค.ศ. 1506(10)
[note 3]
ค.ศ. 1486 – ค.ศ. 1544

พระเจ้าจุงจง
ค.ศ. 1506 – ค.ศ. 1544(11)
ค.ศ. 1515 – ค.ศ. 1545

พระเจ้าอินจง
ค.ศ. 1544 – ค.ศ. 1545(12)
ค.ศ. 1530 – ค.ศ. 1559
องค์ชาย
ท็อกฮึง
ค.ศ. 1534 – ค.ศ. 1567

พระเจ้ามย็องจง
ค.ศ. 1545 – ค.ศ. 1567(13)
ค.ศ. 1552 – ค.ศ. 1608

พระเจ้าซ็อนโจ
ค.ศ. 1567 – ค.ศ. 1608(14)
ค.ศ. 1575 – ค.ศ. 1641

องค์ชายควังแฮ
ค.ศ. 1608 – ค.ศ. 1623(15)
[note 3]
ค.ศ. 1580 – ค.ศ. 1619
องค์ชาย
ช็องว็อน
ค.ศ. 1598 – ค.ศ. 1624
PrinceHeungan [ko]
[note 4]
ค.ศ. 1595 – ค.ศ. 1649

พระเจ้าอินโจ
ค.ศ. 1623 – ค.ศ. 1649(16)
ค.ศ. 1599 – ค.ศ. 1615
Grand PrinceNeungchang
ค.ศ. 1612 – ค.ศ. 1645
องค์ชายรัชทายาท
โซฮย็อน
ค.ศ. 1619 – ค.ศ. 1659

พระเจ้าฮโยจง
ค.ศ. 1649 – ค.ศ. 1659(17)
ค.ศ. 1622 – ค.ศ. 1658
องค์ชายอินพย็อง [ko]
ค.ศ. 1644 – ค.ศ. 1665
PrinceGyeongan [ko]
ค.ศ. 1641 – ค.ศ. 1674

พระเจ้าฮย็อนจง
ค.ศ. 1659 – ค.ศ. 1674(18)
ค.ศ. 1639 – ค.ศ. 1670
องค์ชายพกนย็อง [ko]
ค.ศ. 1663 – ค.ศ. 1724
PrinceImchang [zh]
ค.ศ. 1661 – ค.ศ. 1720

พระเจ้าซุกจง
ค.ศ. 1674 – ค.ศ. 1720(19)
ค.ศ. 1661 – ค.ศ. 1722
องค์ชายอึยว็อน [ko]
ค.ศ. 1688 – ค.ศ. 1729
PrinceMilpung [ko]
[note 5]
ค.ศ. 1688 – ค.ศ. 1724

พระเจ้าคย็องจง
ค.ศ. 1720 – ค.ศ. 1724(20)
ค.ศ. 1694 – ค.ศ. 1776

พระเจ้าย็องโจ
ค.ศ. 1724 – ค.ศ. 1776(21)
ค.ศ. 1699 – ค.ศ. 1719
องค์ชายย็อนรย็อง
ค.ศ. 1693 – ค.ศ. 1763
องค์ชายอันฮึง [ko]
ค.ศ. 1719 – ค.ศ. 1728
องค์ชายรัชทายาทฮโยจาง
ค.ศ. 1735 – ค.ศ. 1762
องค์ชายรัชทายาท
ซาโด
ค.ศ. 1728 – ค.ศ. 1796
อี ซิน อิก [ko]
ค.ศ. 1752 – ค.ศ. 1800

พระเจ้าช็องโจ
ค.ศ. 1776 – ค.ศ. 1800(22)
ค.ศ. 1754 – ค.ศ. 1801
องค์ชายอึนอ็อน [ko]
ค.ศ. 1755 – ค.ศ. 1771
องค์ชายอึนซิน
ค.ศ. 1752 – ค.ศ. 1822
อี บย็อง ว็อน [ko]
ค.ศ. 1790 – ค.ศ. 1834

พระเจ้าซุนโจ
ค.ศ. 1800 – ค.ศ. 1834(23)
ค.ศ. 1785 – ค.ศ. 1841
แทว็อนกุน
จองเย
ค.ศ. 1788 – ค.ศ. 1836
องค์ชายนมย็อน [ko]
ค.ศ. 1809 – ค.ศ. 1830
องค์ชายรัชทายาท
ฮโยมย็อง
ค.ศ. 1831 – ค.ศ. 1864

พระเจ้าช็อลจง
ค.ศ. 1849 – ค.ศ. 1864(25)
ค.ศ. 1820 – ค.ศ. 1898
แทว็อนกุน
ฮึงซ็อน
ค.ศ. 1827 – ค.ศ. 1849

พระเจ้าฮ็อนจง
ค.ศ. 1834 – ค.ศ. 1849(24)

จักรพรรดิแห่ง
เกาหลี
ค.ศ. 1852 – ค.ศ. 1919

พระเจ้าโคจง
(ควางมู)

r.K ค.ศ. 1864 – ค.ศ. 1897
r.E ค.ศ. 1897 – ค.ศ. 1907(26)

[note 6]
ค.ศ. 1874 – ค.ศ. 1926

พระเจ้าซุนจง
(ยุงฮี)

ค.ศ. 1907 – ค.ศ. 1910(27)
[note 7]
ค.ศ. 1877 – ค.ศ. 1955
องค์ชายอึยฮวา
(1897–1970)

องค์ชายรัชทายาท
อี อึน(28)
[note 8][note 9]
ค.ศ. 1919 – ค.ศ. 2020
อี แฮ-ว็อน
[note 10]
ค.ศ. 1938 – ค.ศ. 2014
อี กับ [ko]
ค.ศ. 1940–
อี ซ็อก
[note 10]
ค.ศ. 1931 – ค.ศ. 2005
อี กู(29)
[note 9][note 11]
ค.ศ. 1962 –
อี ว็อน(30)
[note 9][note 12]

อ้างอิง

  1. https://www.bbc.com/korean/news-46056729
  2. Japan-Korea Annexation Treaty article 3
  3. 皇室令及附屬法令廢止ノ件
  4. "CONSTITUTION OF THE REPUBLIC OF KOREA". Korean Legislation Research Institute. สืบค้นเมื่อ 27 August 2018.
  5. Article 11, Section 2: "No privileged caste shall be recognized or ever established in any form."
  6. https://www.msn.com/ko-kr/news/national/고종-장례-행렬-재현-및-만세-행진/ar-BBUevkL
  7. http://www.korea.net/NewsFocus/Society/view?articleId=73211
  8. https://www.nytimes.com/2006/05/19/world/asia/19iht-profile.html
  9. "국호를 정하는 문제에 대한 예부의 자문을 계품사 조임이 가져오다". Veritable Records of the Joseon dynasty. (King Taejong Year 01, Month 11, Day 27, Entry 1)
  10. "사신 장근과 단목예가 받들고 온 명나라 황제의 고명". Veritable Records of the Joseon dynasty. (King Taejo Year 01, Month 06, Day 12, Entry 1)
  11. "예종이 돌아가시니 대비의 명에 의해 경복궁에서 즉위하다". Veritable Records of the Joseon Dynasty. (King Seongjong Year 00, Month 11, Day 28, Entry 1)
  12. "심기원·신경진·장만이 상의하여 흥안군 이제를 죽이다". Veritable Records of the Joseon Dynasty. (King Injo Year 02, Month 02, Day 26, Entry 7)
  13. "밀풍군 탄을 국문하도록 하다". Veritable Records of the Joseon Dynasty. (King Yeongjo Year 04, Month 03, Day 20, Entry 6)
  14. "총리대신 등이 왕실의 존칭을 새 규례를 갖추어 아뢰다". Veritable Records of the Joseon Dynasty. (King Gojong Year 31, Month 12, Day 27, Entry 1)
  15. "국호를 대한으로 하고 임금을 황제로 칭한다고 선포하다". Veritable Records of the Joseon Dynasty. (13 October 1897, Entry 1)
  16. 小川原宏幸 (2010-01-28). 伊藤博文の韓国併合構想と朝鮮社会――王権論の相克. Iwanami Shoten. pp. 153, 163. ISBN 978-4000221795.
  17. 17.0 17.1 17.2 คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name mj43 cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  18. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name hwhy cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  19. "왕공족보(王公族譜)". 디지털 장서각. สืบค้นเมื่อ 2020-05-28.
  20. 20.0 20.1 Constitution of Japan  – โดยทาง Wikisource. [Article 14]……Peers and peerage shall not be recognized.
  21. "영친왕장례…19일장으로". JoongAng Ilbo. 1970-05-04. สืบค้นเมื่อ 2020-07-25.
  22. "의민(懿愍) 황태자(皇太子) 영원(英園)에 예장(礼葬)". The Chosun Ilbo. 1970-05-12. สืบค้นเมื่อ 2020-07-28.
  23. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name rfo cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  24. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name jaen cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  25. "官報. 1932年01月06日". 國立國會図書館デジタルコレクション. สืบค้นเมื่อ 2020-07-17.
  26. "조선 '마지막 황세손' 이구, 한국말 서툴렀던 이유는?". The Dong-a Ilbo. 2017-12-06. สืบค้นเมื่อ 2020-07-25.
  27. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name js20050722 cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.
  28. คำเตือนการอ้างอิง: <ref> tag with name js200508 cannot be previewed because it is defined outside the current section or not defined at all.

ตัวอย่างการอ้างอิง

  1. Taejong was the first reigning Joseon king to be recognized by the Ming dynasty.[9][10]
  2. Queen Jeonghui appointed him to be the heir to Yejong.[11]
  3. 3.0 3.1 Unlike other Joseon monarchs, who could receive a temple name after their death, Yeonsangun and Gwanghaegun never had one due to being overthrown and "gun" denotes "prince" instead of king.
  4. The anti-king during the rebel (Yi Gwal's rebellion) in 1624.[12]
  5. Proclaimed to be the anti-king during the Musin Revolt in 1728.[13]
  6. Gojong became the first emperor of the Korean Empire in 1897[14][15] and abdicated in 1907; he was demoted to "King Emeritus Yi" in 1910.[16][17]
  7. Sunjong abdicated in 1910 and became "King Yi" at the same time.[17]
  8. Yi Un became the Imperial Crown Prince of the Korean Empire in 1907, only to be demoted to the "Crown Prince of King Yi" in 1910.[17][18] He succeeded the title King Yi in 1926 and lost it in 1947 according to the new constitution in Japan.[19][20] His posthumous name, Crown Prince Euimin (의민황태자), was made by the Jeonju Lee Royal Family Association.[21][22]
  9. 9.0 9.1 9.2 Director of the Jeonju Lee Royal Family Association.[23]
  10. 10.0 10.1 Yi Hae-won held a coronation ceremony and claimed to be an "empress" on 29 September 2006. Meanwhile, Yi Seok claimed to be the "first successor" appointed by Yi Bangja after the death of Yi Ku in 2005.[24]
  11. Yi Ku became the "Crown Prince of King Yi" after his birth[25] and he lost the title in 1947.[20] His posthumous name, Prince Imperial Hoeun (회은황세손), was made by the Jeonju Lee Royal Family Association.[26]
  12. On 10 July 2005, Yi Ku named Yi Won to be his heir.[27][28]