สถานีพร้อมพงษ์

พร้อมพงษ์
E5

Phrom Phong
ชานชาลาสถานี
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนสุขุมวิท เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
พิกัด13°43′49.58″N 100°34′11.03″E / 13.7304389°N 100.5697306°E / 13.7304389; 100.5697306พิกัดภูมิศาสตร์: 13°43′49.58″N 100°34′11.03″E / 13.7304389°N 100.5697306°E / 13.7304389; 100.5697306
เจ้าของกรุงเทพมหานคร
ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
ผู้ให้บริการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี)
สาย
ชานชาลา2 ชานชาลาด้านข้าง
ราง2
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างยกระดับ
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานีE5
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ5 ธันวาคม พ.ศ. 2542; 24 ปีก่อน (2542-12-05)
ผู้โดยสาร
25643,664,227
การเชื่อมต่อ
สถานีก่อนหน้า รถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีต่อไป
อโศก
มุ่งหน้า คูคต
สายสุขุมวิท ทองหล่อ
มุ่งหน้า เคหะฯ
ที่ตั้ง

สถานีพร้อมพงษ์ (อังกฤษ: Phrom Phong station; รหัส: E5) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทบริเวณย่านพร้อมพงษ์ ในพื้นที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

ที่ตั้ง

ถนนสุขุมวิท บริเวณปากซอยสุขุมวิท 24 (เกษม) และซอยสุขุมวิท 39 (พร้อมพงษ์) ในพื้นที่แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา และแขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

รูปแบบ

เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน กว้างประมาณ 20 เมตร ยาวประมาณ 150 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสาร และชานชาลา รวมทั้งมีประตูกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง

ในปี พ.ศ. 2558 สถานีนี้ได้มีการปรับปรุงพื้นที่เพื่อเป็นจุดเชื่อมต่อของศูนย์การค้าในกลุ่ม ดิ เอ็ม ดิสทริค โดยความร่วมมือกับกลุ่มเดอะมอลล์ โดยมีการจัดระเบียบโครงสร้างของสถานีใหม่ และตกแต่งบริเวณสถานีโดยใช้แนวคิดที่สอดคล้องกับรูปแบบของศูนย์การค้าในย่านดังกล่าว แต่ยังคงชื่อเป็นสถานีพร้อมพงษ์ตามเดิม[1]

แผนผัง

U3
ชานชาลา
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
ชานชาลา 1 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (ทองหล่อ)
ชานชาลา 2 สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (อโศก)
ชานชาลาด้านข้าง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย
U2
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-6, ศูนย์บริการผู้โดยสาร
ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร,
เอ็มดิสทริค แกลลอรี่, ควอเทียร์พาร์ค, ทางเชื่อมเอ็มโพเรียม, เอ็มควอเทียร์ และ เอ็มสเฟียร์
G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, วิลล่า มาร์เก็ต สาขาสุขุมวิท 33/1, อุทยานเบญจสิริ, โรงเรียนสายน้ำผึ้ง

ทางเข้า-ออก

จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 3 หน้าปากซอยสุขุมวิท 39

เวลาให้บริการ

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายสุขุมวิท[2]
ชานชาลาที่ 1
E23 เคหะฯ 05.38 00.11
E15 สำโรง 00.24
ชานชาลาที่ 2
N24 คูคต 05.34 23.51
N9 ห้าแยกลาดพร้าว 00.06

รถโดยสารประจำทาง

ถนนสุขุมวิท

  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 3
(กปด.13)
สำโรง สนามหลวง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)
2 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
2 รถโดยสารประจำทาง เมกาบางนา ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ส่วนใหญ่ หมดระยะ BTS อุดมสุข
25 3
(กปด.33)
รถโดยสารประจำทาง อู่แพรกษาบ่อดิน สนามหลวง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
25 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
501 2
(กปด.12)
รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี การขนส่งระบบราง สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
501 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
508 3
(กปด.23)
รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ สนามหลวง (ท่าราชวรดิฐ) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
511 Handicapped/disabled access รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
511 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน

สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
2 (3-1) Handicapped/disabled access ปากน้ำ เรือข้ามฟาก สะพานพุทธ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
38 (3-8) Handicapped/disabled access ม.รามคำแหง 2 รถโดยสารประจำทาง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ บจก.สมาร์ทบัส
(เครือไทยสมายล์บัส)
40 (4-39) Handicapped/disabled access BTS เอกมัย รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ตลิ่งชัน)
48 (3-11) Handicapped/disabled access ม.รามคำแหง 2 วัดโพธิ์
71 (1-39) Handicapped/disabled access สวนสยาม คลองเตย บจก.ไทยสมายล์บัส
38 ม.รามคำแหง 2 แยกอโศกมนตรี รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน บจก.ไพศิริเดินรถ
38 รถโดยสารประจำทางสีชมพู
98 อโศก BTS อุดมสุข รถโดยสารประจำทางสีขาว-น้ำเงิน บจก.สหศรีสุพรรณยานยนต์

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

  • อุทยานเบญจสิริ
  • สถานเอกอัครราชทูตราชอาณาจักรนอร์เวย์ประจำประเทศไทย (อาคารยูบีซี 2 ชั้น 18)
  • สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่านประจำประเทศไทย
  • สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ประจำประเทศไทย
  • โรงเรียนสายน้ำทิพย์
  • โรงเรียนสายน้ำผึ้ง

ศูนย์การค้าและอาคารสำนักงาน

โรงแรม

  • โรงแรมอริสตัน
  • โรงแรมโฟร์ วิงส์
  • โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สุขุมวิท 20
  • โรงแรมรีเจนซี ปาร์ค
  • โรงแรมแบงค็อก แมริออท มาร์คีส์ ควีนส์ปาร์ค (ชื่อเดิม โรงแรมอิมพีเรียล ควีนส์ปาร์ค)
  • โรงแรมเอ็มโพเรียม สวีท บาย ชาเทรียม
  • โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ กรุงเทพ สุขุมวิท
  • โรงแรมเรดิสัน บลู พลาซา กรุงเทพ สุขุมวิท
  • โรงแรมฮิลตัน สุขุมวิท (ชื่อเดิม โรงแรมอิมพีเรียล อิมพาลา)
  • โรงแรมดับเบิลทรี บาย ฮิลตัน สุขุมวิท (ชื่อเดิม โรงแรมอิมพีเรียล ธารา)
  • โรงแรมเมอร์เคียวและไอบิส สุขุมวิท 24
  • โรงแรมสกายวิว กรุงเทพ สุขุมวิท 24
  • โรงแรมโอ๊ควู๊ด สวีท กรุงเทพ
  • โรงแรมสเตย์บริดจ์ สวีท กรุงเทพ สุขุมวิท

อ้างอิง

  1. "BTS ไม่เปลี่ยนชื่อสถานี 'พร้อมพงษ์' เป็น'เอ็ม ดิสทริค'". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-27. สืบค้นเมื่อ 2015-02-23.
  2. "เวลาให้บริการของรถไฟฟ้าบีทีเอส" (PDF). 2021-11-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-25.