สถานีรถไฟเกียวโต

สถานีรถไฟเกียวโต

京都駅
อาคารหลักของสถานี (ฝั่งคาราซูมะ)
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งเขตชิโมะเงียว นครเกียวโต จังหวัดเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น
ผู้ให้บริการ
การเชื่อมต่อสถานีขนส่ง
ผู้โดยสาร
ปีงบประมาณ 2015[1]255 ล้านคน
ที่ตั้ง
สถานีรถไฟเกียวโตตั้งอยู่ในนครเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต
ที่ตั้งภายในนครเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโตตั้งอยู่ในจังหวัดเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต (จังหวัดเกียวโต)
สถานีรถไฟเกียวโตตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
สถานีรถไฟเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต
สถานีรถไฟเกียวโต (ประเทศญี่ปุ่น)

สถานีรถไฟเกียวโต (ญี่ปุ่น: 京都駅โรมาจิKyōto Eki) เป็นสถานีรถไฟกลางที่ตั้งอยู่ในนครเกียวโต จังหวัดเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น อาคารหลักของสถานีรถไฟเกียวโตในปัจจุบันเป็นอาคารสถานีหลังที่สี่ ที่เปิดใช้งาน พ.ศ. 2540 ส่วนโครงสร้างรถไฟใต้ดินเปิดใช้งานใน พ.ศ. 2524

ชานชาลา

อาคารสถานีรถไฟเกียวโตหลังที่ 1 (พ.ศ. 2420–2457)
อาคารสถานีรถไฟเกียวโตหลังที่ 2 (พ.ศ. 2457–2493)
อาคารสถานีรถไฟเกียวโตหลังที่ 3 (พ.ศ. 2495–2540

ระดับดิน

มีชานชาลาข้างจำนวนหนึ่งชานชาลา และชานชาลาแบบเกาะกลางจำนวนสี่ชานชาลา (รวม 8 ทาง) ให้บริการสำหรับสายหลักโทไกโด (รวมถึงโทไกโดชิงกันเซ็ง) และสายโคเซ ทางตะวันตกของชานชาลา 0 มีชานชาลาตันจำนวนสามชานชาลา (4 ทาง) ให้บริการสำหรับสายซันอิง (สายซางาโนะ) ทางทิศใต้ของชานชาลา 7 มีชานชาลาตันอยู่จำนวนสามชานชาลา ให้บริการสำหรับสายนาระ

0 สายโฮกูริกุ รถด่วนเอ็กซเพรส สู่ ฟูกูอิ, คานาซาวะ, และ โทยามะ
สายหลักโทไกโด, สายชูโอ, สายหลักทากายามะ รถด่วนเอ็กซเพรส สู่ ไมบาระ, นางาโนะ, และ ทากายามะ
สายบิวาโกะ ระหว่างทางของ รถด่วนพิเศษ สู่ คูซาสึ และ ไมบาระ ทุกเช้าวันจันทร์-ศุกร์
สายโคเซ ระหว่างทางของ รถด่วนพิเศษ สู่ คาตาตะ และ โอมิ-อิมาซุ ทุกเช้าวันจันทร์-ศุกร์
สายคูซาสึ สู่ คิบุกาวะ และ สึเงะ (ตอนเย็นและกลางคืน)
2, 3 สายบิวาโกะ สู่ คูซาสึ และ ไมบาระ
สายโคเซ สู่ คาตาตะ และ โอมิ-อิมาซุ
4, 5 JR สายเกียวโต สู่ โอซากะ และ ซันโนมิยะ
6, 7 สายคิโนกูนิ รถด่วนเอ็กซเพรส ขบวนคูโรชิโอะ สู่ ชิราฮามะ และ ชิงงู
สายชิซุเอ็กซเพรส รถด่วนเอ็กซเพรส ขบวนซูเปอร์ฮากูโตะ สู่ ทตโตริ และ คูราโยชิ
สายท่าอากาศยานคันไซ รถด่วนเอ็กซเพรส ขบวนฮากูระ จาก ไมบาระ และ คูซาสึ สู่ ท่าอากาศยานคันไซ
รถด่วนเอ็กซเพรส จาก the สายโฮกูริกุ, สายหลักโทไกโด สู่ โอซากะ
JR สายเกียวโต รถด่วน และ รถด่วนพิเศษ สู่ โอซากะ และ ซันโนมิยะ ในตอนเช้า
8, 9, 10 สายนาระ สู่ อูจิ และ นาระ
30 สายท่าอากาศยานคันไซ รถด่วนเอ็กซเพรส ขบวนฮากูระ สู่ ท่าอากาศยานคันไซ
สายซางาโนะ-ซันอิง รถด่วนเอ็กซเพรส (แบ่งช่วง) สู่ ฟูกูชิยามะ, คิโนซากิ อนเซ็ง, ฮิงาชิ-ไมซูรุ, และ อามาโนะฮาชิดาเตะ
31 ซางาโนะ-สายหลักซันอิง รถด่วนเอ็กซเพรส สู่ ฟุกุชิยามะ, คิโนซากิ อนเซ็ง, ฮิงาชิ-ไมซูรุ, และ อามาโนะฮาชิดาเตะ
ซางาโนะ-สายซันอิง ระหว่างทางของรถธรรมดา สู่ คาเมโอกะ, โซโนเบะ, และ ฟูกูชิยามะ
32, 33 ซางาโนะ-สายซันอิง รถธรรมดา และ รถด่วน สู่ คาเมโอกะ, โซโนเบะ, และ ฟูกูชิยามะ
34 เฉพาะการลงรถจากขบวนที่จอดชานชาลา 33 เท่านั้น  
11, 12 โทไกโด ชิงกันเซ็ง สู่ นาโงยะ และ โตเกียว
13, 14 โทไกโด ชิงกันเซ็ง สู่ ชินโอซากะ และ ฮากาตะ
ผังทางรถไฟและชานชาลาของสถานีรถไฟเกียวโต (ระดับดิน)[2][3]
ฝั่งฮาชิโจ (ทิศใต้)
สีน้ำตาล (2 ทาง): สายนาระ สู่ อุจิ และ นาระ
สีน้ำเงิน (4 ทาง):
สายหลักโทไกโด
(สายบิวาโกะ)
สู่ ไมบาระ, นาโงยะ และ โตเกียว
สายโคเซ
สู่ โอมิ-อิมาซุ และ สึรูงะ
ผังทางรถไฟของสถานีรถไฟเกียวโต (ส่วน JR ตะวันตก) สีดำ (1 ทาง):
สายขนส่ง
สู่สถานีขนส่งสินค้าเกียวโต
สีน้ำเงิน (4 ทาง):
สายหลักโทไกโด
สู่ โอซากะ และ โคเบะ
สีม่วง (1 ทาง):
สายหลักซันอิง
(สายซางาโนะ)
สู่ ฟูกูชิยามะ
ฝั่งคาราซูมะ (ทิศเหนือ)

อ้างอิง

  1. 第8章 都市施設 [Chapter 8: Urban facilities]. 京都市統計書 [Statistics of Kyoto City] (ภาษาญี่ปุ่น). City of Kyoto.
  2. "JR Nishinihon Tōkaidō Honsen Maibara–Kōbe kan Senro Haisen Ryakuzu". Japan Railfan Magazine (ภาษาญี่ปุ่น). Kōyūsha (561): inserted sheet between pp. 34–35. January 2008.
  3. Kawashima, Ryōzō (2009). Tōkaidō Rain Zensen Zen'eki Zen-Haisen vol. 6 (Maibara eki – Ōsaka eria) (ภาษาญี่ปุ่น). Kōdansha. pp. 17–18. ISBN 978-4-06-270016-0.

แหล่งข้อมูลอื่น

34°59′08″N 135°45′31″E / 34.98556°N 135.75861°E / 34.98556; 135.75861