สี่เสือแห่งเอเชีย
สี่เสือแห่งเอเชีย | |||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 亞洲四小龍 | ||||||||||||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 亚洲四小龙 | ||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | สี่มังกรน้อยแห่งเอเชีย | ||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
ชื่อภาษาเกาหลี | |||||||||||||||||||||||
ฮันกึล | 아시아의 네 마리 용 | ||||||||||||||||||||||
ฮันจา | 亞細亞의 네 마리 龍 | ||||||||||||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | สี่มังกรแห่งเอเชีย | ||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
ชื่อมลายู | |||||||||||||||||||||||
มลายู | Empat Harimau Asia | ||||||||||||||||||||||
ชื่อทมิฬ | |||||||||||||||||||||||
ทมิฬ | நான்கு ஆசியப் புலிகள் |
สี่เสือแห่งเอเชีย (อังกฤษ: Four Asian Tigers; หรือ สี่มังกรแห่งเอเชีย และ สี่มังกรน้อย ในจีนและเกาหลี) เป็นคำที่ใช้อ้างถึงเศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างรวดเร็วของฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้และไต้หวัน ประเทศหรือบริเวณเหล่านี้เป็นบริเวณที่มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง (มากกว่า 7% ต่อปี) และมีการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วระหว่างต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 ถึง 1990
ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 ทั้งหมดได้พัฒนาไปสู่เศรษฐกิจที่ก้าวหน้าและมีรายได้สูง โดยเฉพาะความสามารถในการแข่งขัน ตัวอย่างเช่น ฮ่องกงและสิงคโปร์เป็นผู้นำทางด้านศูนย์กลางการเงินระดับนานาชาติในขณะที่เกาหลีใต้และไต้หวันเป็นผู้นำทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความสำเร็จทางเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้เป็นแบบจำลองสำหรับประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะลูกเสือเศรษฐกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[1][2][3]
ประสบการณ์ของประเทศในกลุ่มเสือนี้ขึ้นกับนโยบายทางด้านอุตสาหกรรมซึ่งสนับสนุนการส่งออกและการเป็นชาติอุตสาหกรรม ธนาคารโลกได้ยอมรับนโยบายเสรีนิยมใหม่ด้วยความรับผิดชอบต่อการขยายตัว รวมทั้งการรักษาระบบการค้าทางด้านการส่งออกโดยยอมรับข้อดีของนโยบายการควบคุมทางการเงิน เช่นการกำหนดการลงทุนในตลาดล่างโดยรัฐสำหรับการให้กู้ต่ออุตสาหกรรมส่งออกเฉพาะอย่าง มีการวิเคราะห์จากหลากหลายสถาบันว่านโยบายของรัฐทำให้การเจริญเติบโตเกิดขึ้นได้ดีแต่ไม่ได้เหมาะกับลัทธิเสรีนิยมใหม่[4] นักวิเคราะห์บางคนโต้แย้งว่านโยบายอุตสาหกรรมและการแทรกแซงของรัฐมีอิทธิพลมากกว่ารายงานที่ธนาคารโลกกล่าวแนะ[5][6] แต่ก็ทำให้มีการเติบโตอย่างยั่งยืนมามากกว่าทศวรรษ ลักษณะทั่วไปของประเทศในกลุ่มเสือคือรัฐบาลให้ความสำคัญกับการลงทุนทางด้านการศึกษา ระบบการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตยและเน้นเครือญาติในการพัฒนาช่วงแรก เป็นพันธมิตรที่แน่นแฟ้นของสหรัฐอเมริกา[7]
ความล้มเหลวทางเศรษฐกิจของประเทศกลุ่มเสือเกิดขึ้นในวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 สิงคโปร์และไต้หวันไม่ได้รับอันตราย เกาหลีใต้ประสบปัญหาหนี้เสียจำนวนมาก ส่วนฮ่องกงประสบปัญหาเกี่ยวกับการโจมตีตลาดหุ้นและสกุลเงิน แต่ไม่กี่ปีต่อมา ประเทศในกลุ่มเสือเหล่านี้ก็กลับมามีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจดังเดิม รวมทั้งเกาหลีใต้ที่มีสถานการณ์ย่ำแย่ที่สุด
ข้อมูลเขตการปกครอง
อันดับความน่าเชื่อถือ
ประเทศหรือ ดินแดน |
Fitch | Moody's | S&P |
---|---|---|---|
ฮ่องกง | AA[8] | Aa2[9] | AA+[10] |
สิงคโปร์ | AAA[11] | Aaa[12] | AAA |
เกาหลีใต้ | AA-[13] | Aa2[14] | AA[15] |
ไต้หวัน | AA[16] | Aa3[17] | AA+[18] |
ประชากร
ประเทศหรือ ดินแดน |
พื้นที่ (ตร.กม.) |
ประชากร (2020)[19] |
ความหนาแน่น (ต่อ ตร.กม.) |
การคาดหมายคงชีพ (2020)[20] |
อายุมัธยฐาน (2020) |
อัตราการเกิด (2015) |
อัตราการเสียชีวิต (2011) |
อัตราการเจริญพันธุ์ (2020) |
อัตราการย้ายถิ่นสุทธิ (2015–2020) |
อัตราการเติบโตของประชากร (2015) |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ฮ่องกง | 1,106 | 7,496,981 | 7,140 | 85.29 | 45 | 0.8% | 0.6% | 0.87[21] | 0.40% | 0.82 |
สิงคโปร์ | 728 | 5,850,342 | 8,358 | 84.07 | 42 | 0.9% | 0.45% | 1.10[22] | 0.47% | 0.79 |
เกาหลีใต้ | 100,210 | 51,269,185 | 527 | 83.50 | 44 | 0.8% | 0.51% | 0.84[23] | 0.02% | 0.09 |
ไต้หวัน | 36,197 | 23,816,775 | 673 | 81.04 | 42 | 0.8% | 0.66% | 0.99[24] | 0.13% | 0.18 |
เศรษฐกิจ
ประเทศหรือ ดินแดน |
จีดีพี (ล้านดอลลาร์สหรัฐ, ประมาณ ค.ศ. 2021) | จีดีพีต่อหัว (ดอลลาร์สหรัฐ, ประมาณ ค.ศ. 2022) | การค้า (พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐ, 2016) |
(พันล้านดอลลาร์สหรัฐ, 2017) | อัตราการเติบโตด้านอุตสาหกรรม (%) (2017) | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เฉลี่ย | พีพีพี | เฉลี่ย | พีพีพี | ส่งออก | นำเข้า | |||
ฮ่องกง | 369,722 | 488,654 | 49,850 | 65,403 | 1,236 | 496.9 | 558.6 | 1.2 |
สิงคโปร์ | 378,645 | 615,293 | 79,576 | 107,677 | 917 | 372.9 | 327.4 | -3.5 |
เกาหลีใต้ | 1,823,852 | 2,503,395 | 34,944 | 48,309 | 1,103 | 577.4 | 457.5 | -1.5 |
ไต้หวัน | 785,589 | 1,443,411 | 36,051 | 61,371 | 604 | 344.6 | 272.6 | 1.2 |
คุณภาพชีวิต
ประเทศหรือ ดินแดน |
ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (ข้อมูล 2021) |
ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ จาก Gini coefficient |
รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน (2013), USD PPP[25] |
รายได้เฉลี่ยต่อหัว (2013), USD PPP[25] |
Global Well Being Index (2010), % thriving[26] |
---|---|---|---|---|---|
ฮ่องกง | 0.952 (ที่ 4) | 53.9 (2016) | 35,443 | 9,705 | 19% |
สิงคโปร์ | 0.939 (ที่ 12) | 46.4 (2014) | 32,360 | 7,345 | 19% |
เกาหลีใต้ | 0.925 (ที่ 19) | 34.1 (2015) | 40,861 | 11,350 | 28% |
ไต้หวัน | 0.926 (–)[a] | 33.6 (2014) | 32,762 | 6,882 | 22% |
เทคโนโลยี
ประเทศหรือ ดินแดน |
ความเร็วในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยเฉลี่ย (2020)[32] |
การใช้งานสมาร์ตโฟน (2016) |
การใช้ไฟฟ้าหมุนเวียน |
---|---|---|---|
ฮ่องกง | 21.8 Mbit/s | 87%[33] | 0.3% |
สิงคโปร์ | 47.5 Mbit/s | 100%[34] | 3.3% |
เกาหลีใต้ | 59.6 Mbit/s | 89% | 2.1% |
ไต้หวัน | 28.9 Mbit/s | 78%[35] | 4.4% |
การเมือง
ประเทศหรือ ดินแดน |
ดัชนีประชาธิปไตย (2020) |
ดัชนีเสรีภาพสื่อ (2020) |
ดัชนีการฉ้อราษฎร์บังหลวง (2019) |
ดัชนีการแข่งขันระดับสากล (2019)[36] |
ดัชนีความยากง่ายในการประกอบธุรกิจ (2020) |
ดัชนีสิทธิการถือครองทรัพย์สิน (2015) |
ดัชนีผู้จ่ายสินบน (2011) |
สถานะทางการเมืองในปัจจุบัน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ฮ่องกง | 5.57 | 69.99 | 76 | 83.1 | ง่ายมาก (ที่ 3) | 7.6 | 7.6 | เขตบริหารพิเศษ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน |
สิงคโปร์ | 6.03 | 44.77 | 85 | 84.8 | ง่ายมาก (ที่ 2) | 8.1 | 8.3 | สาธารณรัฐแบบรัฐสภา |
เกาหลีใต้ | 8.01 | 76.30 | 59 | 79.6 | ง่ายมาก (ที่ 5) | 5.9 | 7.9 | สาธารณรัฐแบบมีประธานาธิบดี |
ไต้หวัน | 8.94 | 76.24 | 65 | 80.2 | ง่ายมาก (ที่ 15) | 6.9 | 7.5 | สาธารณรัฐแบบกึ่งประธานาธิบดี |
องค์กรและกลุ่ม
ประเทศหรือ ดินแดน |
สหประชาชาติ | WTO | OECD | DAC | APEC | ADB | AIIB | SEACEN | G20 | EAS | อาเซียน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ฮ่องกง | |||||||||||
สิงคโปร์ | |||||||||||
เกาหลีใต้ |
(อาเซียน+3) | ||||||||||
ไต้หวัน | [b] |
ดูเพิ่ม
- ประเทศพัฒนาแล้ว
- กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20
- ประเทศอุตสาหกรรมใหม่
- วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540
หมวดหมู่
- ↑ รายงานดัชนีการพัฒนามนุษย์ประจำปีที่รวบรวมโดย UNDP ไม่รวมไต้หวันเนื่องจากไม่ใช่ชาติสมาชิกสหประชาชาติ และไม่ได้รวมเข้ากับข้อมูลในสาธารณรัฐประชาชนจีน[27] สำนักงานสถิติของไต้หวันคำนวณเอชดีไอใน ค.ศ. 2021 อยู่ที่ 0.926 โดยอิงจากวิธีวิทยาของ UNDP ใน ค.ศ. 2010[28][29] ซึ่งจะทำให้ไต้หวันอยู่ในอันดับ 19 ใน ค.ศ. 2021 ตามรายงาน UNDP ประจำปี 2022[30][31]
- ↑ สมาชิกก่อตั้งและสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ (1945–1971)
อ้างอิง
- ↑ "Can Africa really learn from Korea?". Afrol News. 24 November 2008. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 December 2008. สืบค้นเมื่อ 16 February 2009.
- ↑ "Korea role model for Latin America: Envoy". Korean Culture and Information Service. 1 March 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 April 2009. สืบค้นเมื่อ 16 February 2009.
- ↑ Leea, Jinyong; LaPlacab, Peter; Rassekh, Farhad (2 September 2008). "Korean economic growth and marketing practice progress: A role model for economic growth of developing countries". Industrial Marketing Management. 37 (7): 753–757. doi:10.1016/j.indmarman.2008.09.002.
- ↑ Derek Gregory; Ron Johnston; Geraldine Pratt; Michael J. Watts; Sarah Whatmore, บ.ก. (2009). "Asian Miracle/tigers". The Dictionary of Human Geography (5th ed.). Malden, MA: Blackwell. p. 38. ISBN 978-1-4051-3287-9.
- ↑ Rodrik, Dani (1 April 1997). "The 'paradoxes' of the successful state". European Economic Review (ภาษาอังกฤษ). 41 (3–5): 411–442. doi:10.1016/S0014-2921(97)00012-3. ISSN 0014-2921.
- ↑ Chang, Ha-Joon (2006). The East Asian Development Experience. Zed Books. ISBN 9781842771419. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 April 2023. สืบค้นเมื่อ 28 September 2020.
- ↑ "East Asian Tigers- Definition". WordIQ.com. 1 February 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-01-05. สืบค้นเมื่อ 2011-03-01.
- ↑ "Hong Kong Credit Ratings". Fitch Ratings. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "Rating Action: Moody's changes outlook on Hong Kong's Aa2 rating to negative from stable; affirms rating". Moody's Investors Service. 16 September 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2020. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ Sin, Noah (8 October 2019). "S&P keeps Hong Kong's AA+ rating despite protests, cites strong finances". Reuters (ภาษาอังกฤษ). Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2020. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "Singapore Credit Ratings". Fitch Ratings. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "Rating Action: Moody's affirms Singapore's Aaa ratings; maintains stable outlook". Moody's Investors Service. 12 November 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "Korea Credit Ratings". Fitch Ratings. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "Announcement of Periodic Review: Moody's announces completion of a periodic review of ratings of Korea, Government of". Moody's Investors Service. 15 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2021. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "S&P keeps Korea's rating at AA with stable outlook". Yonhap News Agency (ภาษาอังกฤษ). Yonhap News Agency. 6 November 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 November 2019. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "Taiwan - Credit Rating". fitchratings.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 November 2021. สืบค้นเมื่อ 11 September 2021.
- ↑ "Moody's announces completion of a periodic review of ratings of Taiwan, Government of". Moody's Investors Service. 15 February 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2020. สืบค้นเมื่อ 6 April 2020.
- ↑ "S&P raises Taiwan's long-term issuer credit ratings on strong economic performance". Reuters. 29 April 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2022. สืบค้นเมื่อ 9 May 2022.
- ↑ "Countries in the world by population (2022)". worldometers. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 January 2018. สืบค้นเมื่อ 2 June 2022.
- ↑ "Life Expectancy of the World Population". worldometers. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 March 2022. สืบค้นเมื่อ 2 June 2022.
- ↑ Fertility Rate, Total for Hong Kong SAR, China เก็บถาวร 22 พฤศจิกายน 2022 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Economic Research. Retrieved 22 November 2022.
- ↑ Fertility Rate, Total for Singapore เก็บถาวร 22 พฤศจิกายน 2022 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Economic Research. Retrieved 22 November 2022.
- ↑ "S.Korea's birth rate decline accelerates to world's lowest". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2022. สืบค้นเมื่อ 22 November 2022.
- ↑ "婚育危機1》人口「生不如死」爆國安危機 各級政府對應卻如「扮家家酒」". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 November 2022. สืบค้นเมื่อ 22 November 2022.
- ↑ 25.0 25.1 Gallup, Inc. (16 December 2013). "Worldwide, Median Household Income About $10,000". gallup.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 February 2016.
- ↑ "Gallup® Global Wellbeing: The Behavioral Economics of GDP Growth" (PDF). Gallup. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 September 2015. สืบค้นเมื่อ 16 August 2017.
- ↑ "Human Development Report 2020: Reader's Guide". United Nation Development Program. 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 April 2021. สืบค้นเมื่อ 12 March 2021.
- ↑ "What is the human development index (HDI)? How are relevant data queried?" (PDF). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2021. สืบค้นเมื่อ 14 March 2021.
- ↑ "人類發展指數(Human Development Index, HDI)" (PDF) (ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 6 January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 April 2021. สืบค้นเมื่อ 13 March 2021.
- ↑ "國情統計通報(第 195 號)" (PDF). Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 14 October 2021. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2023. สืบค้นเมื่อ 16 October 2022.
- ↑ "National Statistics, Republic of China (Taiwan)". Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, Taiwan (ROC). 14 October 2022. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2022. สืบค้นเมื่อ 16 October 2022.
- ↑ "The state of mobile network experience" (PDF). Opensignal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 24 May 2020. สืบค้นเมื่อ 29 June 2021.
- ↑ "Visa Survey: Hongkongers choosing mobile to browse and purchase online". Visa Inc. 9 พฤศจิกายน 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2016.
- ↑ "Singapore leads SEA in smartphone, MBB adoption". telecomasia.net. 8 มิถุนายน 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 กันยายน 2016. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2016.
- ↑ Carlon, Kris (26 มิถุนายน 2016). ""Made for Taiwan": the next billion-dollar app market". androidauthority.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 กรกฎาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2016.
- ↑ "The Global Competitiveness Report 2019" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2019. สืบค้นเมื่อ Oct 21, 2022.
- ↑ "HKMA joins SEACEN" (Press release). Hong Kong Government. Hong Kong Monetary Authority. 31 October 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2016. สืบค้นเมื่อ 16 August 2017.
อ่านเพิ่ม
- Ezra F. Vogel, The Four Little Dragons: The Spread of Industrialization in East Asia (Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press, 1991).
- Hye-Kyung Lee & Lorraine Lim, Cultural Policies in East Asia: Dynamics between the State, Arts and Creative Industries (Palgrave Macmillan, 2014).
- H. Horaguchi & K. Shimokawa, Japanese Foreign Direct Investment and the East Asian Industrial System: Case Studies from the Automobile and Electronics Industries (Springer Japan, 2002).
แหล่งข้อมูลอื่น
- BBC report on the Asian Tigers in the aftermath of the 1997 Financial Crisis (includes map of the Asian Tigers)
- ASEAN tigers
- The Elephant at the Gate in China Economic Review