เอมเปโดแกลส

เอมเปโดแกลส
ภาพสลักของเอมเปโดแกลส คริสต์ศตวรรษที่ 17
เกิดป. 494 ปีก่อนคริสตกาล[1]
อักรากัส, มักนาแกรเซีย
เสียชีวิตประมาณ 434 ปีก่อนคริสตกาล[1] (อายุประมาณ 60 ปี)
ไม่ทราบ[a]
ยุคปรัชญาก่อนโสกราตีส
แนวทางปรัชญาตะวันตก
สำนักPluralist school
ความสนใจหลัก
ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล, ภววิทยา, ญาณวิทยา
แนวคิดเด่น
ทุกสิ่ง[3]ถูกสร้างมาจากธาตุทั้งสี่: ไฟ, ลม, ดิน และน้ำ
ความเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนไหว[4]มาจากสารทางร่างกาย[5] ความรัก[6] (แอโฟรไดที)[6] และความขัดแย้ง[6]
ทรงกลมแห่งเอมเปโดแกลส
ทฤษฎีเกี่ยวกับการหายใจ
ทฤษฎีการปล่อยวิสัยทัศน์
ได้รับอิทธิพลจาก
เป็นอิทธิพลต่อ

เอมเปโดแกลส (กรีก: Ἐμπεδοκλῆς, Empedoklês, [em.pe.do.klɛ̂ːs]) หรือ เอมเพโดคลีส (อังกฤษ: Empedocles, /ɛmˈpɛdəklz/; ประมาณ 494 –  434 ปีก่อนคริสตกาล, fl. 444–443 ปีก่อนคริสตกาล)[7] เป็นนักปรัชญาก่อนโสกราตีสชาวกรีกโบราณและเป็นพลเมืองจากอักรากัส[8][9] เมืองกรีกในซิซิลี ปรัชญาของเอมเปโดแกลสเป็นที่รู้จักจากการเป็นต้นกำเนิดทฤษฎีการกำเนิดจักรวาลเกี่ยวกับธาตุคลาสสิกทั้งสี่ เขายังเสนอพลังที่มีชื่อว่าความรักและความขัดแย้งที่ทำหน้าที่ผสมหรือแยกธาตุตามลำดับ

ชีวิต

วิหารเฮราที่อักรากัส สร้างขึ้นตอนที่เอมดพโดคลีสยังอยู่ในวัยหนุ่ม ป. 470 ปีก่อนคริสตกาล

เอมเปโดแกลสเป็นพลเมืองในอักรากัส ซิซิลี[8][9] เขามาจากครอบครัวชนชั้นสูงและร่ำรวย[8][10][11] กระนั้น มีข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตของเขาน้อยมาก โดยเอ็มเพโดคลีส (Empedokles) ปู่ของเขา เคยชนะการแข่งม้าที่โอลิมเปียในโอลิมเปียดครั้งที่ 71 (OL. LXXI; 496–95 ปีก่อนคริสตกาล)[8][9][10] ตามสายรายงานที่ดีที่สุด พ่อของเขามีชื่อว่าเมทอน (Meton)[8][9][10]

สิ่งที่นักวิชาการรู้เกี่ยวกับเอมเปโดแกลสเคือ ปู่ของเขายังคงมีชีวิตใน 496 ปีก่อนคริสตกาล เขาเริ่มดำเนินการที่อักราอัสหลัง 472 ปีก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นวันที่เธรอน (Theron) เสียชีวิต และเขาเสียชีวิตหลัง 444 ปีก่อนคริสตกาล[7]

เสียชีวิต

รายงานจากอาริสโตเติล เขาเสียชีวิตตอนอายุ 60 ปี (ประมาณ 430 ปีก่อนคริสตกาล) แม้ว่าจะมีนักเขียนคนอื่นกล่าวว่าเขามีชีวิตถึงอายุ 109 ปี[12] เช่นเดียวกัน มีตำนานเกี่ยวกับการเสียชีวิตของเขาซึ่งสืบต้นตอไปถึงเฮราคลีเดส พอนตีคัส (Heraclides Ponticus) กล่าวถึงเขาว่าถูกนำออกจากโลก ในขณะที่บางส่วนกล่าวว่าเขามอดไหม้ในเปลวเพลิงของเขาเอตนา[13]

หมายเหตุ

  1. "เอมเปโดแกลสไม่ได้เสียชีวิตที่ซิซิลี แต่เสียที่เพโลพอนนีซ หรืออาจเป็นที่โธริออย (Thourioi)"[2]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Wright, M. R. (1981). Empedocles: The Extant Fragments. Yale University Press. p. 6.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 Burnet 1930, pp. 202–203.
  3. Burnet 1930, pp. 228.
  4. Burnet 1930, pp. 231–232.
  5. Burnet 1930, p. 232.
  6. 6.0 6.1 6.2 Burnet 1930, pp. 208.
  7. 7.0 7.1 Burnet 1930, p. 198.
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 Zeller, Eduard (1881). A History of Greek Philosophy from the Earliest Period to the Time of Socrates. Vol. II. แปลโดย Alleyne, S. F. London: Longmans, Green, and Co. pp. 117–118.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 Burnet 1930, p. 197.
  10. 10.0 10.1 10.2 Freeman, Kathleen (1946). The Pre-Socratic Philosophers. Oxford: Basil Blackwell. pp. 172–173.
  11. Diogenes Laërtius, viii. 51
  12. Apollonius, ap. Diogenes Laërtius, viii. 52, comp. 74, 73
  13. Diogenes Laërtius, viii. 67, 69, 70, 71; Horace, ad Pison. 464, etc. Refer to Arnold (1852), Empedocles on Etna.

บรรณานุกรม

  • Arnold, Matthew (1852). Empedocles on Etna, and Other Poems. London: B. Fellows.
  • Burnet, John (1930) [1892]. Early Greek Philosophy. London: A. & C. Black, Ltd. ark:/13960/t8bg7z77p. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  • Sedley, David (1998). Lucretius and the Transformation of Greek Wisdom. Cambridge: Cambridge University Press.

อ่านเพิ่ม

  • Bakalis, Nikolaos (2005). Handbook of Greek Philosophy: From Thales to the Stoics. Victoria, B.C.: Trafford. ISBN 1-4120-4843-5.
  • Burnet, John (2003) [1892]. Early Greek Philosophy. Whitefish, Mont.: Kessinger. ISBN 0-7661-2826-1.
  • Gottlieb, Anthony (2000). The Dream of Reason: A History of Western Philosophy from the Greeks to the Renaissance. London: Allen Lane. ISBN 0-7139-9143-7.
  • Guthrie, W. K. C. (1978) [1965]. A History of Greek Philosophy, vol. 2 (บ.ก.). The Presocratic Tradition from Parmenides to Democritus. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-29421-5.
  • Hoffman, Eric (2018). Presence of Life. Loveland, Ohio: Dos Madres Press. ISBN 978-1-948017-16-9.
  • Inwood, Brad (2001). The Poem of Empedocles (rev. ed.). Toronto, ON: University of Toronto Press. ISBN 0-8020-4820-X.
  • Kingsley, Peter (1995). Ancient Philosophy, Mystery, and Magic: Empedocles and Pythagorean Tradition. Oxford: Clarendon Press. ISBN 0-19-814988-3.
  • Kirk, G. S.; Raven, J.E.; Schofield, M. (1983). The Presocratic Philosophers: A Critical History (2nd ed.). Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-25444-2.
  • Lambridis, Helle (1976). Empedocles : a philosophical investigation. Tuscaloosa, AL: University of Alabama Press. ISBN 0-8173-6615-6.
  • Long, A. A. (1999). The Cambridge Companion to Early Greek Philosophy. Cambridge: Cambridge University Press. ISBN 0-521-44122-6.
  • Luchte, James (2011). Early Greek Thought: Before the Dawn. London: Bloomsbury Publishing. ISBN 978-0567353313.
  • Millerd, Clara Elizabeth (1908). On the interpretation of Empedocles. Chicago: University of Chicago Press.
  • O'Brien, D. (1969). Empedocles' cosmic cycle: a reconstruction from the fragments and secondary sources. London: Cambridge University Press. ISBN 0-521-05855-4.
  • Russell, Bertrand (1945). A History of Western Philosophy, and Its Connection with Political and Social Circumstances from the Earliest Times to the Present Day. New York: Simon and Schuster. ISBN 0-415-07854-7.
  • Wright, M. R. (1995). Empedocles: The Extant Fragments (new ed.). London: Bristol Classical Press. ISBN 1-85399-482-0.
  • ฟื้น ดอกบัว. ปวงปรัชญากรีก. กรุงเทพฯ: ศยาม. 2555. หน้า 79-82. ISBN 978-974-315-790-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiquote
Wikiquote
วิกิคำคมภาษาอังกฤษ มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ: Empedocles