เอเชียกลาง

เอเชียกลาง
แผนที่เอเชียกลางบนแผนที่โลก
ขนาดพื้นที่4,003,451 km2 (1,545,741 sq mi)[a]
ประเทศหลัก
Nominal GDP295.331 ล้านดอลลาร์ (2012)
GDP per capita6,044 ดอลลาร์(2012)
แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ

เอเชียกลาง (อังกฤษ: Central Asia หรือ Middle Asia รัสเซีย: Центральная Азия) เป็นพื้นที่กว้างใหญ่ในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกทะเล มีคำนิยามที่ต่างกันออกไปสำหรับขอบเขตของดินแดนที่จัดอยู่ในภูมิภาคเป็นเอเชียกลาง และยังไม่มีคำนิยามใดที่เป็นที่ยอมรับโดยส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตามลักษณะโดยทั่วไปของดินแดนในภูมิภาคนี้คือ มีความเกี่ยวข้องทางประวัติศาสตร์กับกลุ่มชนร่อนเร่ (nomad) และ เส้นทางสายไหม ซึ่งทำให้ในอดีตนั้นดินแดนในภูมิภาคนี้เป็นเสมือนเส้นทางของ สินค้า คน รวมถึง แนวความคิด ระหว่างยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออก

ดินแดนที่จัดว่าอยู่ในเขตเอเชียกลาง

ประเทศ พื้นที่
km²
จำนวนประชากร
(2016)[1][2][3][4][5]
ความหนาแน่นด้านประชากร
per km2
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศตามราคาตลาด
millions of USD (2015)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศตามราคาตลาดต่อหัว
ใน ดอลลาร์สหรัฐ (IMF 2015)[6]
ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (2015) เมืองหลวง ภาษาราชการ
 คาซัคสถาน 2,724,900 17,067,216 6.3 216,036 9,796 0.788 อัสตานา คาซัค, รัสเซีย
 คีร์กีซสถาน 199,950 5,940,743 29.7 7,402 1,113 0.655 บิชเคก คีร์กีซ, รัสเซีย
 ทาจิกิสถาน 142,550 8,628,742 60.4 9,242 922 0.624 ดูชานเบ ทาจิก, รัสเซีย
 เติร์กเมนิสถาน 488,100 5,417,285 11.1 47,932 6,622 0.688 อาชกาบัต เติร์กเมน
 อุซเบกิสถาน 447,400 30,932,878 69.1 62,613 2,121 0.675 ทาชเคนต์ อุซเบก

ดินแดนที่เพิ่มเติมโดยยูเนสโก

ชนร่อนเร่คาซัคในทุ่งหญ้าสเตปป์ของจักรวรรดิรัสเซีย ราว ค.ศ. 1910

นอกจากดินแดนข้างต้นแล้ว ยูเนสโกยังเพิ่มเติมดินแดนข้างล่างโดยจัดให้อยู่ในเขตเอเชียกลาง

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. The area figure is based on the combined areas of five countries in Central Asia.

อ้างอิง

  1. "The World Factbook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  2. "The World Factbook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-27. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  3. "The World Factbook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2001-03-31. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  4. "The World Factbook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-12. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  5. "The World Factbook". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-09. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  6. "IMF World Economic Outlook (WEO) – Recovery Strengthens, Remains Uneven, April 2014". สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.