โจโอ (ยุคคามากูระ)
โจโอ (貞応) ศักราชของญี่ปุ่น ที่มาหลังจากปี โจคิว และก่อนปี เก็นนิง ช่วงเวลานี้กินเวลาหลายปีตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 1222 ถึง พฤศจิกายน ค.ศ. 1224.[ 1] จักรพรรดิผู้ครองราชย์คือ จักรพรรดิโกะ-โฮริกาวะ .[ 2]
เปลี่ยนศักราช
ค.ศ. 1222 (貞応元年): ได้มีการเปลี่ยนศักราชเป็น โจโอ เพื่อแสดงถึงเหตุการณ์หรือจำนวนเหตุการณ์ในศักราชนี้. โดยศักราชก่อนหน้าสิ้นสุดและเริ่มใช้ศักราชใหม่ในปี โจคิว , วันที่ 13 เดือน 4 ค.ศ. 1222.[ 3]
เหตุการณ์ในปีโจโอ
ค.ศ. 1222 (ปีโจโอที่ 2 ): ระเบียบที่จัดตั้งขึ้นเกี่ยวกับเงินเดือนของ จิโต
29 กรกฎาคม ค.ศ. 1223 (ปีโจโอที่ 2, วันที่ 20 เดือน 6 ): อาคารสิ่งก่อสร้างของ ศาลเจ้าอาซามะ ที่ฐานของ ภูเขาไฟฟูจิ ใน แคว้นซูรูงะ ถูกสร้างขึ้นใหม่โดย โฮโจ โทกิมาซะ .[ 4]
บันทึก
↑ Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Jō-ō " in Japan encyclopedia , p. 432; n.b., Louis-Frédéric is pseudonym of Louis-Frédéric Nussbaum, see Deutsche Nationalbibliothek Authority File .
↑ Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du Japon , pp. 238 -241; Brown, Delmer et al. (1979). Gukanshō , pp. 341-343; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki. pp. 226-227.
↑ Brown, p. 346.
↑ Ponsonby-Fane, Richard. (1962). Studies in Shinto and Shrines , p. 461.
แหล่งข้อมูลอื่น
ค.ศ. 538–1264
อาซูกะ เฮอัง เฮอัง (ต่อ) เฮอัง (ต่อ) เฮอัง (ต่อ) เฮอัง (ต่อ) คามากูระ (ต่อ)
645–650 ไทกะ 650–654 ฮากูจิ 686–686 ชูโจ 701–704 ไทโฮ 704–708 เคอุง 708–715 วาโด นาระ 715–717 เรกิ 717–724 โยโร 724–729 จินกิ 729–749 เท็มเปียว 749 เท็มเปียว-คัมโป 749–757 เท็มเปียว-โชโฮ 757–765 เท็มเปียว-โฮจิ 765–767 เท็มเปียว-จิงโงะ 767–770 จิงโงะ-เคอุง 770–781 โฮกิ 781–782 เท็นโอ 782–806 เอ็นเรียกุ
806–810 ไดโด 810–824 โคนิง 824–834 เท็นโจ 834–848 โจวะ 848–851 คาโช 851–854 นินจู 854–857 ไซโก 857–859 เท็งอัง 859–877 โจงัง 877–885 กังเงียว 885–889 นินนะ 889–898 คัมเปียว 898–901 โชไต 901–923 เอ็งงิ 923–931 เอ็นโจ 931–938 โจเฮ 938–947 เท็งเงียว 947–957 เท็นเรียกุ 957–961 เท็นโตกุ 961–964 โอวะ
964–968 โคโฮ 968–970 อันนะ 970–973 เท็นโรกุ 973–976 เท็นเอ็ง 976–978 โจเง็ง 978–983 เท็งเง็ง 983–985 เอกัง 985–987 คันนะ 987–988 เอเอ็ง 988–990 เอโซะ 990–995 โชเรียกุ 995–999 โชโตกุ 999–1004 โชโฮ 1004–1012 คันโก 1012–1017 โชวะ 1017–1021 คันนิน 1021–1024 จีอัง 1024–1028 มันจุ 1028–1037 โชเง็ง 1037–1040 โชเรียกุ
1040–1044 โชกีว 1044–1046 คันโตกุ 1046–1053 เอโช 1053–1058 เท็งงิ 1058–1065 โคเฮ 1065–1069 จิเรียกุ 1069–1074 เอ็นกีว 1074–1077 โจโฮ 1077–1081 โจเรียกุ 1081–1084 เอโฮ 1084–1087 โอโตกุ 1087–1094 คันจิ 1094–1096 คาโฮ 1096–1097 เอโจ 1097–1099 โจโตกุ 1099–1104 โควะ 1104–1106 โชจิ 1106–1108 คาโจ 1108–1110 เน็นนิน 1110–1113 เท็นเอ
1113–1118 เอกีว 1118–1120 เก็งเอ 1120–1124 โฮอัง 1124–1126 เท็นจิ 1126–1131 ไดจิ 1131–1132 เท็นโช 1132–1135 โชโช 1135–1141 โฮเอ็ง 1141–1142 เอจิ 1142–1144 โคจิ 1144–1145 เท็นเรียว 1145–1151 คีวอัง 1151–1154 นิมเป 1154–1156 คีวจุ 1156–1159 โฮเง็ง 1159–1160 เฮจิ 1160–1161 เอเรียกุ 1161–1163 โอโฮ 1163–1165 โชกัง 1165–1166 เอมัง
1166–1169 นิงอัง 1169–1171 คาโอ 1171–1175 ศักราช 1175–1177 อังเง็ง 1177–1181 จิโช 1181–1182 โยวะ 1182–1184 จูเอ 1184–1185 เก็นเรียกุ คามากูระ 1185–1190 บุนจิ 1190–1199 เค็นกีว 1199–1201 โชจิ 1201–1204 เค็นนิง 1204–1206 เก็นกีว 1206–1207 เค็นเอ 1207–1211 โจเง็ง 1211–1213 เค็นเรียกุ 1213–1219 เค็มโปะ 1219–1222 โจคิว
1222–1224 โจโอ 1224–1225 เก็นนิง 1225–1227 คาโรกุ 1227–1229 อันเต 1229–1232 คังงิ 1232–1233 โจเอ 1233–1234 เท็มปูกุ 1234–1235 บุนเรียกุ 1235–1238 คาเต 1238–1239 เรียกูนิง 1239–1240 เอ็งโอ 1240–1243 นินจิ 1243–1247 คังเง็ง 1247–1249 โฮจิ 1249–1256 เค็นโจ 1256–1257 โคเง็ง 1257–1259 โชกะ 1259–1260 โชเง็ง 1260–1261 บุงโอ 1261–1264 โคโจ
ค.ศ. 1264–ปัจจุบัน
คามากูระ (ต่อ) ราชสำนักเหนือ-ใต้ ราชสำนักเหนือ-ใต้ มูโรมาจิ (ต่อ) โมโมยามะ เอโดะ (ต่อ) สมัยใหม่
1264–1275 บุงเอ 1275–1278 เค็นจิ 1278–1288 โคอัง 1288–1293 โชโอ 1293–1299 เอนิง 1299–1302 โชอัง 1302–1303 เค็งเง็ง 1303–1306 คาเง็ง 1306–1308 โทกูจิ 1308–1311 เอ็นเกียว 1311–1312 โอโจ 1312–1317 โชวะ 1317–1319 บุงโป 1319–1321 เก็งโอ 1321–1324 เก็นโก 1324–1326 โชจู 1326–1329 คาเรียกุ 1329–1331 เก็นโตกุ 1331–1334 เก็นโกa 1332–1333 โชเคียวb
ราชสำนักเหนือ 1334–1338 เค็มมุ 1338–1342 เรียกูโอ 1342–1345 โคเอ 1345–1350 โจวะ 1350–1352 คันโน 1352–1356 บุนนะ 1356–1361 เอ็มบุง 1361–1362 โคอัง 1362–1368 โจจิ 1368–1375 โออัง 1375–1379 เอวะ 1379–1381 โคเรียกุ 1381–1384 เอโตกุ 1384–1387 ชิโตกุ 1387–1389 คาเก 1389–1390 โคโอ 1390–1394 เมโตกุc
ราชสำนักใต้ 1334–1336 เค็มมุ 1336–1340 เอ็งเง็ง 1340–1346 โคโกกุ 1346–1370 โชเฮ 1370–1372 เค็นโตกุ 1372–1375 บุงจู 1375–1381 เท็นจุ 1381–1384 โควะ 1384–1392 เก็นจูc มูโรมาจิ 1394–1428 โอเอ 1428–1429 โชโจ 1429–1441 เอเกียว 1441–1444 คากิตสึ 1444–1449 บุงอัง 1449–1452 โฮโตกุ
1452–1455 เคียวโตกุ 1455–1457 โคโช 1457–1460 โชโรกุ 1460–1466 คันโช 1466–1467 บุนโช 1467–1469 โอนิง 1469–1487 บุนเม 1487–1489 โชเกียว 1489–1492 เอ็นโตกุ 1492–1501 เมโอ 1501–1521 บุงกิ 1504–1521 เอโช 1521–1528 ไดเอ 1528–1532 เคียวโรกุ 1532–1555 เท็มบุง 1555–1558 โคจิ 1558–1570 เอโรกุ 1570–1573 เก็นกิ
1573–1592 เท็นโช 1592–1596 บุนโรกุ 1596–1615 เคโช เอโดะ 1615–1624 เก็นนะ 1624–1644 คันเอ 1644–1648 โชโฮ 1648–1652 เคอัง 1652–1655 โจโอ 1655–1658 เมเรกิ 1658–1661 มันจิ 1661–1673 คันบุง 1673–1681 เอ็นโป 1681–1684 เท็นนะ 1684–1688 โจเคียว 1688–1704 เก็นโรกุ 1704–1711 โฮเอ 1711–1716 โชโตกุ 1716–1736 เคียวโฮ
1736–1741 เก็นบุง 1741–1744 คัมโป 1744–1748 เอ็นเกียว 1748–1751 คันเอ็ม 1751–1764 โฮเรกิ 1764–1772 เมวะ 1772–1781 อังเอ 1781–1789 เท็มเม 1789–1801 คันเซ 1801–1804 เคียววะ 1804–1818 บุนกะ 1818–1830 บุนเซ 1830–1844 เท็มโป 1844–1848 โคกะ 1848–1854 คาเอ 1854–1860 อันเซ 1860–1861 มังเอ็ง 1861–1864 บุนคิว 1864–1865 เก็นจิ 1865–1868 เคโอ
a ราชสำนักเหนือไม่ยอมรับ ซึ่งยังใช้ปีเก็นโตกุ ถึง ค.ศ. 1332
b ราชสำนักใต้ไม่ยอมรับ
c ยกเลิกปีเก็นจูหลังรวมราชสำนักเหนือ-ใต้ ใน ค.ศ. 1392 และใช้ปีเมโตกุจนถึง ค.ศ. 1394
The article is a derivative under the Creative Commons Attribution-ShareAlike License .
A link to the original article can be found here and attribution parties here
By using this site, you agree to the Terms of Use . Gpedia ® is a registered trademark of the Cyberajah Pty Ltd