โอม
โอม (listenⓘ, ไอเอเอสที: Oṃ, เทวนาครี: ॐ, กันนาดา: ಓಂ, ทมิฬ: ௐ, มลยาฬัม: ഓം, เตลูกู: ఓం) เป็นหนึ่งในประติมานวิทยาที่พบในศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน ตั้งแต่ยุคโบราณและยุคเก่า ในงานเขียน วิหาร[1][2] โอมเป็นสัญลักษณ์ที่มีความหมายในเชิงจิตวิญญาณในทุกศาสนาอินเดีย (ฮินดู พุทธ ไชนะ และ ซิกข์) ส่วนความหมายเฉพาะและความหมายแฝงแตกต่างกันไปตามคำสอนและศาสนา ความเชื่อของแต่ละกลุ่ม
พยางค์ “โอม” บางครั้งก็ถูกเรียกว่า “องการ” (ओङ्कार, oṅkāra), “อณการ” (ओंकार, oṃkāra) และ “ปรณวะ” (प्रणव, praṇava)[3][4]
อ้างอิง
- ↑ T. A. Gopinatha Rao (1993), Elements of Hindu Iconography, Volume 2, Motilal Banarsidass, ISBN 978-8120808775, p. 248
- ↑ Sehdev Kumar (2001), A Thousand Petalled Lotus: Jain Temples of Rajasthan, ISBN 978-8170173489, p. 5
- ↑ Nityanand Misra (25 July 2018). The Om Mala: Meanings of the Mystic Sound. Bloomsbury Publishing. pp. 104–. ISBN 978-93-87471-85-6.
- ↑ "OM". Sanskrit English Dictionary, University of Köln, Germany
|
---|
|
แนวคิดและปรัชญา | | |
---|
คัมภีร์ | ประเภท | |
---|
พระเวท | | สาขา | |
---|
อุปนิษัท |
- ไอตเรยะ
- เกาษีตกิ
- พฤหทารัณยกะ
- อีศะ
- ไตติรียะ
- กฐะ
- ไมตรี
- เศวตาศวตโรปนิษัท
- ฉานโทคยะ
- เกนะ
- มุณฑกะ
- มาณฑูกยะ
- ปรัสนะ
|
---|
|
---|
อปเวท | |
---|
เวทางคศาสตร์ |
- ศิกษา
- ฉันทศาสตร์
- วยากรณะ
- นิรุกตะ
- กัลปะ
- โชยติชะ
|
---|
อื่น ๆ | |
---|
|
---|
เทพเจ้า | |
---|
ธรรมเนียม ปฏิบัติ | การนมัสการ | |
---|
สังสการ |
- ครรภาธาน
- ปุงสวนะ
- สีมันโตนนยนะ
- ชาตกรรม
- นามกรณะ
- นิษกรมณะ
- อันนปราศนะ
- จูฑากรณะ
- กรรณเวธะ
- วิทยารัมภะ
- อุปนยนะ
- เกศานตะ
- ฤตุศุทธิ
- สมาวรรตนะ
- วิวาหะ
- อันเตฺยษฐิ
|
---|
วรรณศรม | |
---|
เทศกาล | |
---|
อื่นๆ |
- สวาธยายะ
- นมัสเต
- บินดิ
- ติลักษณ์
|
---|
|
---|
เรื่องที่เกี่ยวข้อง |
- ประวัติศาสนาฮินดู
- นิกาย
- กฏหมาย
- ปฏิทิน
- การวิจารณ์
- ปรมาจารย์, ธรรมิกชน, นักปรัชญา
- ฮินดูศึกษา
- ประติมานวิทยา
- ปรัมปราวิทยา
- ชาตินิยม
- การข่มเหง
- สถานที่แสวงบุญ
- อภิธานศัพท์
- ศาสนาฮินดูแบ่งตามประเทศ
|
---|
|