90482 ออร์กัส
การค้นพบ | |
---|---|
ค้นพบโดย: | ไมเคิล อี. บราวน์, คาด ทรูจิลโล, เดวิด เรบินโนวิทซ์ |
ค้นพบเมื่อ: | 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 |
ชื่ออื่น ๆ: | 2004 DW |
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย: | พลูติโน[1] |
ลักษณะของวงโคจร | |
ต้นยุคอ้างอิง 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008 (JD 2 454 800) | |
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 7 188.17 Gm (48.05 AU) |
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 4 535.80 Gm (30.32 AU) |
กึ่งแกนเอก: | 5 862.44 Gm (39.188 AU) |
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.226 18 |
คาบการโคจร: | 89 606 d (245.33 yr) |
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 4.68 km/s |
มุมกวาดเฉลี่ย: | 164.68° |
ความเอียง: | 20.593° |
ลองจิจูด ของจุดโหนดขึ้น: | 268.722° |
จำนวนดาวบริวาร: | 1 (92-432 km) |
ลักษณะทางกายภาพ | |
มิติ: | 946.3 +74.1 −72.3 km (diameter)[2] |
มวล: | ~7.5×1020 kg |
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | ~1.5 g/cm³ (คาดการณ์) |
ความโน้มถ่วง ที่ศูนย์สูตร: | ~0.2 m/s² |
ความเร็วหลุดพ้น: | ~0.44 km/s |
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | 13.19h[3] |
อุณหภูมิ: | ~45 K |
90482 ออร์กัส (อังกฤษ: 90482 Orcus; ละติน: Orcus) ชื่อรหัสเดิมว่า 2004 DW เป็นวัตถุในแถบไคเปอร์ที่อาจจะเป็นดาวเคราะห์แคระ ค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค), คาด ทรูจิลโล แห่งหอดูดาวเจมินี และ เดวิด เรบินโนวิทซ์ แห่งมหาวิทยาลัยเยล ภาพถ่ายวัตถุที่ทำให้เกิดการค้นพบ คือการถ่ายภาพเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2004 โดยมีภาพที่เก่าแก่กว่านั้นถ่ายไว้เมื่อ 8 พฤศจิกายน 1951 แต่เพิ่งมาทำความเข้าใจได้ในภายหลัง
ดาวบริวาร
ออร์กัสมีดาวบริวารชื่อ แวนธ์ (อังกฤษ: Vanth) เป็นดาวบริวารดวงเดียวของออร์กัส มีขนาดประมาณ ⅓ ถึง ¼ ของออร์กัส มันถูกค้นพบโดย ไมเคิล อี. บราวน์ และ ท. อ. ซีเออร์ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548
อ้างอิง
- ↑ Buie, Marc W. (22 December 2007). "Orbit Fit and Astrometric record for 90482". SwRI (Space Science Department). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 January 2012. สืบค้นเมื่อ 19 September 2008.
- ↑ Stansberry, J.; Grundy, W.; Brown, M.; Cruikshank, D.; Spencer, J.; Trilling, D.; Margot, J.-L. (2008). "Physical Properties of Kuiper Belt and Centaur Objects: Constraints from the Spitzer Space Telescope". ใน M. A. Barucci; H. Boehnhardt; D. P. Cruikshank; A. Morbidelli (บ.ก.). The Solar System Beyond Neptune. Tucson: University of Arizona Press. pp. 161–179. Bibcode:2008ssbn.book..161S. ISBN 978-0816527557.
- ↑ "Overlooked dwarf planet candidates". BBC. 2008-02-19. สืบค้นเมื่อ 2008-07-25.
-
ภาพวาดจินตนาการของ ออร์กัส (ขวา) และแวนธ์ (ซ้าย)
-
ภาพจินตนาการของ 90482 ออร์กัส
-
วงโครจรของออร์กัส (สีฟ้า) ดาวยม {(ดาวพลูโต) สีแดง} และดาวเกต {(ดาวเนปจูน หรือดาวสมุทร) สีเทา}