ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย
ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รายละเอียดการแข่งขัน วันที่ 12 มีนาคม 2558 – 10 ตุลาคม 2560 ทีม 46 (จาก 1 สมาพันธ์) สถิติการแข่งขัน จำนวนนัดที่แข่งขัน 226 จำนวนประตู 665 (2.94 ประตูต่อนัด) ผู้ชม 4,377,585 (19,370 คนต่อนัด) ผู้ทำประตูสูงสุด โมฮัมหมัด อัล-ซาห์ลาวี อาห์เหม็ด คาลิล (คนละ 16 ประตู) ← 2014
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560(including any matches not played but awarded)
การแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย เป็นการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชียเพื่อคัดเลือกทีมฟุตบอลเข้าแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 รอบสุดท้ายที่ประเทศรัสเซีย ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยโซนเอเชียได้รับโควตาทั้งหมด 4 ทีม กับอีก 1 ทีมที่มีสิทธิ์ไปแข่งรอบเพลย์ออฟกับทีมจากโซนอื่น ๆ โซนเอเชียเริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกในวันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558 ระหว่างติมอร์-เลสเต กับมองโกเลีย [ 1] และจบการแข่งขันวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
การแข่งขัน
รอบแรก : มี 12 ทีม (ทีมอันดับ 35-46) จับคู่แข่งขันแบบเหย้า-เยือน 2 นัด หาทีมชนะ 6 ทีมผ่านเข้าสู่รอบต่อไป
รอบสอง : มี 40 ทีม (ทีมอันดับ 1-34 และ 6 ทีมที่ผ่านรอบแรก) มาแบ่งเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน คัดผู้ชนะของแต่ละกลุ่ม มี 8 ทีม รวมกับทีมอันดับสองที่มีผลงานดีที่สุดอีก 4 ทีมผ่านเข้ารอบสามต่อไป
รอบสาม : จากการแข่งขันรอบสอง จะมี 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบนี้ โดยจะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 ทีม แข่งขันแบบพบกันหมด เหย้า-เยือน ทีมอันดับ 1 และ 2 ของแต่ละกลุ่มจะผ่านเข้าไปเล่นฟุตบอลโลก 2018 ที่ประเทศรัสเซีย ส่วนอันดับ 3 ของทั้งแต่ละกลุ่มจะไปเล่นในรอบสี่ ทั้ง 12 ทีมที่ผ่านเข้ามาถึงรอบสุดท้ายจะได้เข้าแข่งเอเชียนคัพ โดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือก็ให้แข่งกันไปเรื่อย ๆ จะรวมกันได้ 24 ทีม
รอบสี่ : ทีมอันดับ 3 จากแต่ละกลุ่มในรอบสามจะเล่นเพลย์ออฟ เหย้า-เยือน ผู้ชนะจะได้ผ่านเข้าไปเล่นเพลย์ออฟแบบเหย้า-เยือนกับตัวแทนจาก คอนคาแคฟ และผู้ชนะจะได้สิทธิ์ไปแข่งฟุตบอลโลก 2018
การแข่งขันรอบคัดเลือกฟุตบอลโลกครั้งนี้จะเป็นการหาทีมที่ผ่านเข้าไปแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 ไปในตัวด้วย[ 2]
การจัดอันดับ
ปฏิทินการแข่งขัน
นี่คือปฏิทินการแข่งขัน ของฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย[ 4] [ 5] [ 6]
รอบ
การแข่งขัน
วันที่
รอบแรก
นัดที่ 1
12 มีนาคม พ.ศ. 2558
นัดที่ 2
17 มีนาคม พ.ศ. 2558
รอบที่ 2
วันแข่งขันที่ 1
11 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 2
16 มิถุนายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 3
3 กันยายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 4
8 กันยายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 5
8 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 6
13 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 7
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 8
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558
วันแข่งขันที่ 9
24 มีนาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 10
29 มีนาคม พ.ศ. 2559
รอบ
การแข่งขัน
วันที่
รอบที่ 3
วันแข่งขันที่ 1
1 กันยายน พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 2
6 กันยายน พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 3
6 ตุลาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 4
11 ตุลาคม พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 5
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
วันแข่งขันที่ 6
23 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 7
28 มีนาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 8
13 มิถุนายน พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 9
31 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วันแข่งขันที่ 10
5 กันยายน พ.ศ. 2560
รอบที่ 4
นัดที่ 1
5 ตุลาคม พ.ศ. 2560
นัดที่ 2
10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
สำหรับรอบเพลย์ออฟระหว่างทวีป จะแข่งขันระหว่างวันที่ 6–14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560[ 7]
รอบแรก
จับฉลากคู่แข่งขันรอบแรกเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เวลา 15:30 น. ตามเวลาในมาเลเซีย (UTC+8 ) ที่สำนักงานใหญ่สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชียในกัวลาลัมเปอร์ [ 8]
รอบที่ 2
กลุ่มเอ
แหล่งข้อมูล:
FIFA (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
หมายเหตุ:
↑ การแข่งขันระหว่างมาเลเซียและซาอุดีอาระเบียในวันที่ 8 กันยายน 2558 ถูกสั่งยกเลิกในนาทีที่ 87 เนื่องจากผู้ชมขว้างปาสิ่งของลงมาในสนาม ในขณะนั้นซาอุดีอาระเบียนำอยู่ 1-2 ในวันที่ 5 ตุลาคม 2558 ฟีฟ่าตัดสินยกเลิกผลการแข่งขันและปรับมาเลเซียแพ้ 0-3[ 9] [ 10]
กลุ่มบี
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
กลุ่มซี
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
กลุ่มดี
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
หมายเหตุ:
↑ FIFA awarded Iran a 3–0 win as a result of India fielding the ineligible player Eugeneson Lyngdoh.[ 11] The match initially ended 3–0 to Iran.
กลุ่มอี
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
กลุ่มเอฟ
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (D) ตัดสิทธิ์;
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
หมายเหตุ:
↑ On 30 May 2015, FIFA announced that the Football Association of Indonesia (PSSI) was suspended with immediate effect for governmental interference.[ 12] On 3 June 2015, the AFC confirmed that Indonesia have been excluded from the qualifying competition, and all matches involving them have been cancelled.[ 13]
กลุ่มจี
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
หมายเหตุ:
↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 On 16 October 2015, the Kuwait FA was suspended by FIFA with immediate effect, after Kuwait had failed to comply with a decision from the FIFA Executive Committee that sports law of the country had to be changed before 15 October. The three remaining matches involving Kuwait (away v Myanmar, home v Laos, away v South Korea) were not played as originally scheduled, and were later awarded as 3–0 wins for Kuwait's opponents.
กลุ่มเอช
แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า (Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
หมายเหตุ:
↑ FIFA awarded North Korea a 3–0 win as a result of Yemen fielding the ineligible player Mudir Al-Radaei, after North Korea had defeated Yemen 1–0. Al-Radaei failed to serve an automatic one match suspension for receiving two yellow cards earlier in the First Round of the competition.[ 14]
ตารางคะแนนอันดับสองที่ดีที่สุด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2016. แหล่งข้อมูล:
ฟีฟ่า กฏการจัดอันดับ: 1) Points from matches against teams ranked first to fourth in the group; 2) Superior goal difference from these matches; 3) Higher number of goals scored in these matches; 4) Play-off
(Q) ผ่านเข้าสู่รอบที่ระบุ
หมายเหตุ:
รอบที่ 3
กลุ่ม เอ
กลุ่ม บี
รอบที่ 4
ทีมที่ผ่านเข้ารอบนี้
รอบเพลย์ออฟระหว่างทวีป
ทีมลำดับที่ 5 จากโซนเอเชีย ต้องแข่งขันเพลย์ออฟเหย้า-เยือน กับทีมลำดับที่ 5 จากโซนคอนคาแคฟ โดยทีมจากโซนเอเชียจะเป็นเจ้าบ้านในนัดที่สอง[ 15]
ผู้ทำประตู
16 ประตู
โมฮัมหมัด อัล-ซาห์ลาวี
อาห์เหม็ด คาลิล
11 ประตู
10 ประตู
โอมาร์ คาร์บิน
9 ประตู
ฮัสซัน อัล-ไฮดอส
อาลี มับคฮูต
8 ประตู
หยาง ซู
เมห์ดี ทาเรมี
7 ประตู
6 ประตู
ทอม โรกิช
โมฮันหนัด อับดุล-ราฮีม
ชินจิ คะงะวะ
ฮัมซา อัล-ดาร์ดูร์
ไตซีร์ อัล-จัสซิม
มาห์มูด อัล-มาวาส
มานูเชคห์ฮร์ ชฮาลิลอฟ
สำหรับรายชื่อเต็มของอันดับดาวซัลโว, ดูที่ส่วนในแต่ละรอบ:
อ้างอิง
สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (
ฟีฟ่า )
การแข่งขัน รอบคัดเลือก
1930 2
1934
1938
1950
1954
1958
1962
1966
1970
1974
1978
1982
1986
1990
1994
1998
2002
2006
2010
2014
2018
2022
2026
ชิงชนะเลิศ
1930
1934
1938
19503
1954
1958
1962
1966
1970
1974
1978
1982
1986
1990
1994
1998
2002
2006
2010
2014
2018
2022
2026
ผู้เล่น
1930
1934
1938
1950
1954
1958
1962
1966
1970
1974
1978
1982
1986
1990
1994
1998
2002
2006
2010
2014
2018
2022
2026
Final draw
1998
2002
2006
2010
2014
2018
2022
ผู้แพร่ภาพกระจายเสียง
1998
2002
2006
2010
2014
2018
2022
การคัดเลือก เจ้าภาพ กรรมการ สถิติ ทีมที่เข้าร่วม สถิติรวม
Player records
winners
top appearances
red cards
Goalscorer records
top
finals
hat-tricks
own goals
Manager records
Match records
opening
penalty shoot-outs
เบ็ดเตล็ด
1 อาร์เจนตินา ปารากวัย และอุรุกวัยจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันนัดแรก
2 ไม่มีรอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลโลก 1930 เนื่องจากได้รับคำเชิญเท่านั้น
3 ไม่มีการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ; บทความนี้เกี่ยวกับนัดชี้ขาดของรอบแบ่งกลุ่มรอบสุดท้าย
The article is a derivative under the Creative Commons Attribution-ShareAlike License .
A link to the original article can be found here and attribution parties here
By using this site, you agree to the Terms of Use . Gpedia ® is a registered trademark of the Cyberajah Pty Ltd