อักษรคุชราต

อักษรคุชราต
ชนิด
ช่วงยุค
ประมาณ พ.ศ. 2135 (ค.ศ. 1592) –ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาคุชราต
ภาษาสันสกฤต
ภาษากัจฉิ
ภาษาอเวสตะ (ผู้อพยพโซโรอัสเตอร์)
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
อักษรโปรโต-คานาอันไนต์
ระบบพี่น้อง
อักษรรัญชนา
อักษรโมฑี
ISO 15924
ISO 15924Gujr (320), ​Gujarati
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Gujarati
ช่วงยูนิโคด
U+0A80–U+0AFF
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
บทความนี้มีอักษรในตระกูลอักษรพราหมีปรากฏอยู่ คุณอาจเห็นสัญลักษณ์อื่นแทนตัวอักษร หรือมองเห็นสระวางผิดตำแหน่ง หากคอมพิวเตอร์ของคุณไม่สามารถแสดงผลได้อย่างถูกต้อง

อักษรคุชราต พัฒนามาจากอักษรเทวนาครี เพื่อใช้เขียนภาษาคุชราต เอกสารเก่าสุดพบเมื่อ พ.ศ. 2135 และเอกสารพิมพ์เก่าสุด พบเมื่อ พ.ศ. 2340 กระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 19 อักษรคุชราต ใช้ในการเขียนจดหมายและบันทึกเป็นส่วนใหญ่ ส่วนอักษรเทวนาครีใช้ในวรรณคดีและงานทางวิชาการ ใช้เขียนภาษาคุชราตและภาษากัจฉิ (Kachchi) ในประเทศอินเดีย

พยัญชนะ

อักษรคุชราต ถอดเป็นอักษรโรมัน ถอดเป็นอักษรไทยตามรูป ถอดเป็นอักษรไทยตามเสียง
ka /ก/
kha /ค/
ga /ก/
gha /ค/
nga /ง/
ca /จ/
cha /ช/
ja /จ/
jha /ช/
nya /ย/
tta /ต/
ttha /ท/
dda /ด/
ddha /ด/
nna /น/
ta /ต/
tha /ท/
da /ด/
dha /ด/
na /น/
pa /ป/
pha /พ/
ba /บ/
bha /บ/
ma /ม/
ya /ย/
ra /ร/
la /ล /ล/
lla /ล/
va /ว/
sha /ซ/
ssa /ซ/
sa /ซ/

สระ

สระลอย สระจมเกาะตัว ક ถอดเป็นอักษรโรมัน ถอดเป็นอักษรไทย
a อะ
કા aa อา
કિ i อิ
કી ii อี
કુ u อุ
કૂ uu อู
કૅ candra e แอ
કે e เอ
કૉ candra o ออ
કો o โอ
કૌ au เอา
કૃ vocalic r
કૈ ai ไอ
? કૄ vocalic rr ฤๅ

ตัวเลข

= 0, = 1, = 2, = 3, = 4, = 5, = 6, = 7, = 8, = 9

เครื่องหมายพิเศษ

= โอม

อักษรคุชราตในคอมพิวเตอร์

สำหรับผู้ใช้วินโดวส์เอ็กซ์พี (Window XP) สามารถอ่านอักษรคุชราต หรือพิมพ์ข้อความสั้นๆด้วยโปรแกรม Character Map ฟอนต์ shruti

คุชราต
Unicode.org chart (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+0A8x      
U+0A9x  
U+0AAx  
U+0ABx         િ
U+0ACx        
U+0ADx                              
U+0AEx    
U+0AFx                            


อ้างอิง

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น