อักษรเลปชา
อักษรเลปชา | |
---|---|
คำว่า "อักษรเลปชา" ในอักษรและภาษาเลปชา | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ประมาณ ค.ศ. 1700-ปัจจุบัน |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาเลปชา |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | อักษรโปรโต-ซิแนติก |
ระบบลูก | อักษรลิมบู |
ระบบพี่น้อง | อักษรพักส์-ปา |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Lepc (335), Lepcha (Róng) |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Lepcha |
ช่วงยูนิโคด | U+1C00-U+1C4F |
[a] ยังไม่ยืนยันอย่างเป็นทางการ. | |
อักษรเลปชา (Lepcha หรือ Róng script) ประดิษฐ์โดยทิดูง เมน ซาลอง ในราว พ.ศ. 2200 ซึ่งอาจได้รับอิทธิพลจากการเผยแพร่ศาสนาพุทธ ปัจจุบันใช้ในหนังสือพิมพ์ นิตยสาร ตำราเรียน กวีนิพนธ์และการละคร พยัญชนะทุกตัวมีเสียงอะ เว้นช่องว่างระหว่างคำ
ใช้เขียน
- ภาษาเลปชาหรือรองรีง ซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่า มีผู้พูด 65,000 คนในรัฐสิกขิม เบงกอลตะวันตก และกาลิมปงในอินเดีย รวมทั้งในเนปาลและภูฎานด้วย
ยูนิโคด
เลปชา Unicode.org chart (PDF) | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+1C0x | ᰀ | ᰁ | ᰂ | ᰃ | ᰄ | ᰅ | ᰆ | ᰇ | ᰈ | ᰉ | ᰊ | ᰋ | ᰌ | ᰍ | ᰎ | ᰏ |
U+1C1x | ᰐ | ᰑ | ᰒ | ᰓ | ᰔ | ᰕ | ᰖ | ᰗ | ᰘ | ᰙ | ᰚ | ᰛ | ᰜ | ᰝ | ᰞ | ᰟ |
U+1C2x | ᰠ | ᰡ | ᰢ | ᰣ | ᰤ | ᰥ | ᰦ | ᰧ | ᰨ | ᰩ | ᰪ | ᰫ | ᰬ | ᰭ | ᰮ | ᰯ |
U+1C3x | ᰰ | ᰱ | ᰲ | ᰳ | ᰴ | ᰵ | ᰶ | ᰷ | ᰻ | ᰼ | ᰽ | ᰾ | ᰿ | |||
U+1C4x | ᱀ | ᱁ | ᱂ | ᱃ | ᱄ | ᱅ | ᱆ | ᱇ | ᱈ | ᱉ | ᱍ | ᱎ | ᱏ |