อักษรรัญชนา
อักษรรัญชนา | |
---|---|
![]() | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ป. ค.ศ. 1100-ปัจจุบัน |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา ![]() |
ภูมิภาค | เนปาล, อินเดีย |
ภาษาพูด | ภาษาเนวาร์, ภาษาสันสกฤต, ภาษาทิเบต |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | อักษรพราหมี
|
ระบบลูก | อักษรโซยอมโบ |
ระบบพี่น้อง | อักษรภูชิโมล, อักษรปรัจลิต |
อักษรรัญชนา (रंजना, Rañjanā) หรือกูติลา หรือลันต์ซา (Lantsa) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี เมื่อราว พ.ศ. 1600 และใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2500 ในอินเดียและเนปาล ชาวทิเบตเรียกอักษรนี้ว่าลันต์ซา ใช้เขียนภาษาสันสกฤตก่อนจะแปลเป็นภาษาทิเบต ชาวทิเบตเลิกใช้อักษรนี้เมื่อถูกจีนยึดครอง นอกจากนี้ มีการใช้อักษรนี้ในหมู่ชาวพุทธในจีน มองโกเลีย และญี่ปุ่น
ใช้เขียน
- ภาษาเนวาร์ ซึ่งอยู่ในกลุ่มทิเบต-พม่า มีผู้พูดในอินเดียและเนปาลราว 775,000 คน นอกจากนี้ ภาษาเนวาร์ยังเขียนด้วยอักษรเทวนาครีและอักษรอื่นๆอีกหลายชนิดอีกด้วย
- ภาษาสันสกฤต
พยัญชนะ
![](http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/20/Tianjin_Temple_Sanskrit_Ranjana_Script.jpeg/220px-Tianjin_Temple_Sanskrit_Ranjana_Script.jpeg)
![](http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/1/1b/Jing_An_Temple_Stone_Sanskrit_Om.jpeg/220px-Jing_An_Temple_Stone_Sanskrit_Om.jpeg)
![](http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/e/e6/Astasahasrika_Prajnaparamita_Maitreya_Folio.jpeg/220px-Astasahasrika_Prajnaparamita_Maitreya_Folio.jpeg)
รัสสระ | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ทีฆสระ | ![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |