เอเชียนคัพ 2015

เอเอฟซี เอเชียนคัพ 2015
เอเชียนคัพ 2015
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพออสเตรเลีย
วันที่9 - 31 มกราคม พ.ศ. 2558 (23 วัน)
ทีม16
สถานที่(ใน 5 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ออสเตรเลีย (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ เกาหลีใต้
อันดับที่ 3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
อันดับที่ 4 อิรัก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน32
จำนวนประตู85 (2.66 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม649,705 (20,303 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาลี มาบคฮูต
(5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประเทศออสเตรเลีย มัสซิโม ลูออนโก
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมประเทศออสเตรเลีย แมทิว ไรอัน
รางวัลแฟร์เพลย์ ออสเตรเลีย
2011
2019
ผลงานของประเทศที่เข้าร่วมในเอเชียนคัพ 2015
  ชนะเลิศ
  รองชนะเลิศ
  อันดับที่ 3
  อันดับที่ 4
  รอบก่อนรองชนะเลิศ
  รอบแบ่งกลุ่ม

เอเชียนคัพ 2015 (AFC Asian Cup 2015) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปเอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ในระหว่างวันที่ 9-31 มกราคม พ.ศ. 2558 ที่ประเทศออสเตรเลีย โดยทีมที่ชนะเลิศในการแข่งขันรายการนี้จะได้สิทธิ์ในการแข่งขัน คอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ที่ประเทศรัสเซีย

การคัดเลือกเจ้าภาพ

รอบคัดเลือก

ทีมที่ผ่านเข้าไปในรอบสุดท้าย

การจับฉลากแบ่งกลุ่ม

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

 ออสเตรเลีย (63) (เจ้าภาพ)
 อิหร่าน (42)
 ญี่ปุ่น (48)
 อุซเบกิสถาน (55)

 เกาหลีใต้ (60)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (61)
 จอร์แดน (66)
 ซาอุดีอาระเบีย (75)

 โอมาน (81)
 จีน (98)
 กาตาร์ (101)
 อิรัก (103)

 บาห์เรน (106)
 คูเวต (110)
 เกาหลีเหนือ (133)
 ปาเลสไตน์ (167)

สนามที่ใช้ในการแข่งขัน

วันที่

การแข่งขันนี้เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 9 ถึง 31 มกราคม, ซึ่งแข่งขันกันในช่วงกลางฤดูกาลของฟุตบอลลีกออสเตรเลีย, และเป็นช่วงฤดูร้อนของประเทศออสเตรเลีย.

ใน ฤดูกาล 2014-15 ของ เอลีก, ลีกฟุตบอลนานาชาติที่สูงสุดของประเทศออสเตรเลีย[1]

สถานที่

สมาคมได้กำหนดให้เมืองทั้ง 5 เมืองของประเทศออสเตรเลียที่ใช้สนามในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2015 ซึ่งได้แก่, ซิดนีย์, เมลเบิร์น, บริสเบน, แคนเบอร์รา และ นิวคาสเซิล,[2]

ซิดนีย์ นิวคาสเซิล บริสเบน
สนามกีฬาออสเตรเลีย สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล สนามกีฬาบริสเบน
ความจุ: 84,000 ความจุ: 33,000 ความจุ: 52,500
แคนเบอร์รา
สนามกีฬาแคนเบอร์รา
ความจุ: 25,011
เมลเบิร์น
สนามกีฬาเมลเบิร์น
ความจุ: 30,050

ที่พักนักกีฬา

รอบแบ่งกลุ่ม

ตารางการแข่งขันได้ประกาศขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2013.[2][3]

กลุ่ม A

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (A) 3 3 0 0 3 0 +3 9
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (H, A) 3 2 0 1 8 2 +6 6
ประเทศโอมาน โอมาน (E) 3 1 0 2 1 5 –4 3
ประเทศคูเวต คูเวต (E) 3 0 0 3 1 6 –5 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ.
9 มกราคม 2015
ออสเตรเลีย  4–1  คูเวต สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
10 มกราคม 2015
เกาหลีใต้  1–0  โอมาน สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
13 มกราคม 2015
คูเวต  0–1  เกาหลีใต้ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
โอมาน  0–4  ออสเตรเลีย สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์
17 มกราคม 2015
ออสเตรเลีย  0–1  เกาหลีใต้ สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
โอมาน  1–0  คูเวต สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล, นิวคาสเซิล

กลุ่ม B

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ประเทศจีน จีน (A) 3 3 0 0 5 2 +3 9
ประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน (A) 3 2 0 1 5 3 +2 6
ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดิอาระเบีย (E) 3 1 0 2 5 5 0 3
ประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ (E) 3 0 0 3 2 7 –5 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
10 มกราคม 2015
อุซเบกิสถาน  1–0  เกาหลีเหนือ สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์
ซาอุดีอาระเบีย  0–1  จีน สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
14 มกราคม 2015
เกาหลีเหนือ  1–4  ซาอุดีอาระเบีย สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
จีน  2–1  อุซเบกิสถาน สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
18 มกราคม 2015
อุซเบกิสถาน  3–1  ซาอุดีอาระเบีย สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
จีน  2–1  เกาหลีเหนือ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา

กลุ่ม C

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ประเทศอิหร่าน อิหร่าน (A) 3 3 0 0 4 0 +4 9
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (A) 3 2 0 1 6 3 +3 6
ประเทศบาห์เรน บาห์เรน (E) 3 1 0 2 3 5 –2 3
ประเทศกาตาร์ กาตาร์ (E) 3 0 0 3 2 7 –5 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
11 มกราคม 2015
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  4–1  กาตาร์ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
อิหร่าน  2–0  บาห์เรน สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
15 มกราคม 2015
บาห์เรน  1–2  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
กาตาร์  0–1  อิหร่าน สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์
19 มกราคม 2015
อิหร่าน  1–0  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
กาตาร์  1–2  บาห์เรน สนามกีฬาออสเตรเลีย, ซิดนีย์

กลุ่ม D

ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- คะแนน
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (A) 3 3 0 0 7 0 +7 9
ประเทศอิรัก อิรัก (A) 3 2 0 1 3 1 +2 6
ประเทศจอร์แดน จอร์แดน (E) 3 1 0 2 5 4 +1 3
รัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ (E) 3 0 0 3 1 11 –10 0
หมายเหตุ
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.
12 มกราคม 2015
ญี่ปุ่น  4–0  ปาเลสไตน์ สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล, นิวคาสเซิล
จอร์แดน  0–1  อิรัก สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
16 มกราคม 2015
ปาเลสไตน์  1–5  จอร์แดน สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
อิรัก  0–1  ญี่ปุ่น สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
20 มกราคม 2015
ญี่ปุ่น  2–0  จอร์แดน สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
อิรัก  2–0  ปาเลสไตน์ สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา

รอบแพ้คัดออก

ในรอบแพ้คัดออก, ต่อเวลาพิเศษ และ ยิงจุดโทษตัดสิน จะเป็นวิธีการใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น.

รอบ 8 ทีม รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
22 มกราคม – เมลเบิร์น        
  เกาหลีใต้
(ต่อเวลา)
 2
26 มกราคม – ซิดนีย์
  อุซเบกิสถาน  0  
  เกาหลีใต้  2
23 มกราคม – แคนเบอร์รา
      อิรัก  0  
  อิหร่าน  3 (6)
31 มกราคม – ซิดนีย์
  อิรัก (ลูกโทษ)  3 (7)  
  เกาหลีใต้  1
22 มกราคม – บริสเบน    
    ออสเตรเลีย
(ต่อเวลา)
 2
  จีน  0
27 มกราคม – นิวคาสเซิล
  ออสเตรเลีย  2  
  ออสเตรเลีย  2
23 มกราคม – ซิดนีย์
      สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์  0  
  ญี่ปุ่น  1 (4)
  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ลูกโทษ)  1 (5)  
 


รอบ 8 ทีมสุดท้าย

เกาหลีใต้ 2–0 (ต่อเวลาพิเศษ) อุซเบกิสถาน
ซน ฮึง-มิน ประตู 104'120' รายงาน
สนามกีฬาเมลเบิร์น, เมลเบิร์น
ผู้ชม: 23,381 คน
ผู้ตัดสิน: ฟาฮัด อัล-มีร์ดาซี (ซาอุดิอาระเบีย

จีน 0–2 ออสเตรเลีย
รายงาน เคฮิลล์ ประตู 48'65'
สนามกีฬาบริสเบน, บริสเบน
ผู้ชม: 46,067 คน
ผู้ตัดสิน: คิม จอง-ฮยอก (เกาหลีใต้)

อิหร่าน 3–3 (ต่อเวลาพิเศษ) อิรัก
อัซมูน ประตู 24'
ปูราลีกันจี ประตู 103'
กูชันเนจฮัด ประตู 119'
รายงาน ยาซิน ประตู 56'
มาห์มูด ประตู 93'
อิสมาอิล ประตู 116' (ลูกโทษ)
ลูกโทษ
ฮัจซาฟี Missed
ปูราลีกันจี Penalty scored
เนกูนัม Penalty scored
ฮอสเซนี Penalty scored
กาฟูรี Penalty scored
จาฮันบากห์ช Penalty scored
เตย์มูเรียน Penalty scored
อามีรี Missed
6–7 Missed อับดุล-อามีร์
Penalty scored ซาเล็ม
Penalty scored อิสมาอิล
Penalty scored อัดนัน
Penalty scored มาห์มูด
Penalty scored กาซิม
Penalty scored ฮุสเซอิน
Penalty scored ชาเกอร์
สนามกีฬาแคนเบอร์รา, แคนเบอร์รา
ผู้ชม: 18,921 คน
ผู้ตัดสิน: เบน วิลเลียมส์ (ออสเตรเลีย)

ญี่ปุ่น 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ชิบาซากิ ประตู 81' รายงาน มาบคฮูต ประตู 7'
ลูกโทษ
ฮนดะ Missed
ฮาเซเบะ Penalty scored
ชิบาซากิ Penalty scored
โทโยดะ Penalty scored
โมริชิเงะ Penalty scored
คางาวะ Missed
4–5 Penalty scored อ. อับดุลราห์มาน
Penalty scored มาบคฮูต
Missed เอสมาอีล
Penalty scored ฮัสซัน
Penalty scored ฟาร์ดาน
Penalty scored อ. อาห์เหม็ด
ผู้ชม: 19,094 คน
ผู้ตัดสิน: อาลีเรซา ฟากฮานี (อิหร่าน)

รอบรองชนะเลิศ

เกาหลีใต้ 2–0 อิรัก
ลี จุง-ฮยุป ประตู 20'
คิม ยัง-กว็อน ประตู 50'
รายงาน
ผู้ชม: 36,053 คน
ผู้ตัดสิน: รีวจิ ซาโต (ญี่ปุ่น)

ออสเตรเลีย 2–0 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
เซนส์บิวรี ประตู 3'
เดวิดสัน ประตู 14'
รายงาน
สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล, นิวคาสเซิล
ผู้ชม: 21,079 คน
ผู้ตัดสิน: ราฟชาน อีร์มาตอฟ (อุซเบกิสถาน)

รอบชิงอันดับที่สาม

อิรัก 2–3 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ซาเลม ประตู 28'
กาลาฟ ประตู 42'
รายงาน คาลิล ประตู 16'51'
มาบคฮูต ประตู 57' (จุดโทษ)
สนามกีฬาแห่งชาตินิวคาสเซิล, นิวคาสเซิล
ผู้ชม: 12,829 คน
ผู้ตัดสิน: นาวาฟ ชูคราลลา (บาห์เรน)

รอบชิงชนะเลิศ

เกาหลีใต้ 1–2 (ต่อเวลาพิเศษ) ออสเตรเลีย
ซน ฮึง-มิน ประตู 90+1' รายงาน ลูออนโก ประตู 45'
ทรอยซี ประตู 105'
ผู้ชม: 76,385 คน
ผู้ตัดสิน: อาลีเรซา ฟากานี (อิหร่าน)

อ้างอิง

  1. "A-League break likely for Asian Cup". theroar.com.au. สืบค้นเมื่อ 7 January 2013.
  2. 2.0 2.1 "Venues and Match Schedule" (PDF). footballaustralia.com.au. สืบค้นเมื่อ 27 March 2013.
  3. "Match Schedule AFC Asian Cup Australia 2015" (PDF). AFC.

แหล่งข้อมูลอื่น