ตำบลขุนคง

ตำบลขุนคง
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันTambon Khun Khong
วัดขุนคง
วัดขุนคง
คำขวัญ: 
พระธาตุเจ้าหนองโขงเป็นศรี ฝีมือดีหัตถกรรมล้ำค่า ศาลารวมใจยึดมั่นปวงประชา เกษตรกรรมนำหน้าพาขุนคงเจริญ
ประเทศไทย
จังหวัดเชียงใหม่
อำเภอหางดง
พื้นที่
 • ทั้งหมด10.00 ตร.กม. (3.86 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด5,395 คน
 • ความหนาแน่น539.50 คน/ตร.กม. (1,397.3 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 50230
รหัสภูมิศาสตร์501505
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
องค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง
อบต.ขุนคงตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่
อบต.ขุนคง
อบต.ขุนคง
ที่ตั้งที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง
พิกัด: 18°40′27.6″N 98°56′45.5″E / 18.674333°N 98.945972°E / 18.674333; 98.945972
ประเทศ ไทย
จังหวัดเชียงใหม่
อำเภอหางดง
จัดตั้ง • 24 สิงหาคม 2516 (สภาตำบลขุนคง)
 • 25 ธันวาคม 2539 (อบต.ขุนคง)
พื้นที่
 • ทั้งหมด10.00 ตร.กม. (3.86 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด5,395 คน
 • ความหนาแน่น539.50 คน/ตร.กม. (1,397.3 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.06501506
ที่อยู่ที่ทำการเลขที่ 303 หมู่ 5 ตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50230
เว็บไซต์www.khunkhong.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ขุนคง เป็นตำบล 1 ใน 11 ของอำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นที่ตั้งของหมู่บ้านถวาย หมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP ต้นแบบของประเทศไทยกับความมีชื่อเสียงด้านงานศิลปหัตถกรรมไม้แกะสลัก เป็นศูนย์รวมของสินค้าหัตถกรรมทุกแขนงทั่วประเทศ เป็นหมู่บ้านหัตถกรรมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นที่ยอมรับในคุณค่าแห่งงานหัตถศิลป์และคุณภาพของสินค้าจนเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก

ที่ตั้งและอาณาเขต

ตำบลขุนคงมีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอและจังหวัดใกล้เคียงดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง
  • ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลหารแก้ว อำเภอหางดง
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลสบแม่ข่า อำเภอหางดง และตำบลขัวมุง ตำบลสันทราย อำเภอสารภี
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลหนองแก๋ว อำเภอหางดง

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

ตำบลขุนคงแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน ได้แก่

หมู่ 1 บ้านต้นแก้ว (Ban Ton Kaeo)
หมู่ 2 บ้านถวาย (Ban Thawai)
หมู่ 3 บ้านหนองโขง (Ban Nong Khong)
หมู่ 4 บ้านสารภี (Ban Saraphi)
หมู่ 5 บ้านขุนคงหลวง (Ban Khun Khong Luang)
หมู่ 6 บ้านกาด (Ban Kat)
หมู่ 7 บ้านท่าขุนคง (Ban Tha Khun Khong)
หมู่ 8 บ้านท่ามะโก๋ (Ban Tha Mako)
หมู่ 9 บ้านแพะใหม่ (Ban Phae Mai)

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่ตำบลขุนคง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพียงแห่งเดียว คือ องค์การบริหารส่วนตำบลขุนคง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลขุนคงทั้งหมด ซึ่งเป็นสภาตำบลขุนคงที่จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2516[1] และยกฐานะขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขุนคงในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539[2]

ประชากร

พื้นที่ตำบลขุนคงประกอบด้วยหมู่บ้านทั้งสิ้นจำนวน 9 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 5,317 คน แบ่งเป็นชาย 2,499 คน หญิง 2,818 คน (เดือนธันวาคม 2564)[3] เป็นตำบลที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับ 10 จาก 11 ตำบลในอำเภอหางดง

      หมายถึงจำนวนประชากรได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้คงเดิมเมื่อเทียบกับปีก่อน
      หมายถึงจำนวนประชากรได้ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน

* ปี พ.ศ. 2558 มีการรวมผู้ที่ไม่ได้สัญชาติไทยในทะเบียนราษฎร ส่งผลให้ข้อมูลจำนวนประชากรปีดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก

หมู่บ้าน พ.ศ. 2564[4] พ.ศ. 2563 [5] พ.ศ. 2562[6] พ.ศ. 2561[7] พ.ศ. 2560[8] พ.ศ. 2559[9] พ.ศ. 2558[10]
ขุนคงหลวง 1,228 1,231 1,241 1,258 1,274 1,262 1,271
ถวาย 1,069 1,036 1,001 985 974 986 890
กาด 677 672 667 654 648 659 659
สารภี 570 576 575 566 558 555 551
ท่าขุนคง 472 478 477 478 479 482 485
หนองโขง 409 403 400 396 396 401 389
ต้นแก้ว 349 349 345 347 340 333 330
แพะ 279 271 249 232 231 235 238
ท่ามะโก๋ 264 268 264 265 263 261 264
รวม 5,317 5,284 5,219 5,181 5,163 5,174 5,077

อ้างอิง

  1. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การจัดตั้งสภาตำบลตามประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๓๒๖ ลงวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๕" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 90 (108 ง): (ฉบับพิเศษ) 1-72. วันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2516
  2. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 113 (ตอนพิเศษ 52 ง): 1–365. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-01-25. สืบค้นเมื่อ 2022-04-15. วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2539
  3. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2565. สืบค้น 24 มกราคม 2565.
  4. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [2] 2565. สืบค้น 24 มกราคม 2565.
  5. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [3] 2564. สืบค้น 18 มีนาคม 2564.
  6. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [4] 2563. สืบค้น 10 มกราคม 2563.
  7. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2561." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/036/T_0032.PDF 2562. สืบค้น 12 กุมภาพันธ์ 2562.
  8. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/E/041/22.PDF 2561. สืบค้น 26 กุมภาพันธ์ 2561.
  9. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat59.htm 2560. สืบค้น 3 มีนาคม 2560.
  10. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm 2558. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2559.