อักษรออร์ค็อง

อักษรเตอร์กิกเก่า
อักษรออร์ค็อง
ข้อความในจารึกโองินที่อุทิศแด่ Bumin Qaghan
ชนิด
อักษร
ช่วงยุค
คริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึง 10
ทิศทางขวาไปซ้าย Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาเตอร์กิกเก่า
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ไซนายดั้งเดิม(?)
ระบบลูก
ฮังการีเก่า
ISO 15924
ISO 15924Orkh (175), ​Old Turkic, Orkhon Runic
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Old Turkic
ช่วงยูนิโคด
U+10C00–U+10C4F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ
Kultigin Monument of Orkhon Inscriptions - Orkhun Museum, Kharkhorin, Mongolia
จารึกออร์ค็อนบนอนุสาวรีย์ Kul tigin - พิพิธภัณฑ์ออร์ค็อน คาร์โคริน ประเทศมองโกเลีย
ข้อความส่วนหนึ่งในจารึก Bilge Kağan (แถวที่ 36–40)
ที่ตั้งของหุบเขาออร์ค็อง

อักษรเตอร์กิกเก่า (มีอีกหลายชื่อ เช่น อักษรเกิกทืร์ก (Göktürk script), อักษรออร์ค็อน, อักษรออร์ค็อน-เยนิเซย์, อักษรรูนเตอร์กิก) เป็นอักษรที่ใช้โดยเกิกทืร์ก (Göktürks) และรัฐข่านเตอร์กิกตอนต้นในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ถึง 10 เพื่อบันทึกภาษาเตอร์กิกเก่า[1]

อักษรนี้ตั้งชื่อตามหุบเขาออร์ค็อนในประเทศมองโกเลีย ซึ่งเป็นสถานที่ที่นิโคไล ยาดรินต์เซฟพบจารึกในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 ใน ค.ศ. 1889[2] จารึกออร์ค็อนได้รับการตีพิมพ์โดยวาซีลีย์ รัดลอฟ และถอดข้อความโดย Vilhelm Thomsen นักภาษาศาสตร์ชาวเดนมาร์กใน ค.ศ. 1893[3]

ต้นกำเนิด

นักวิชาการสมัยใหม่รายงานว่า อักษรออร์ค็องพัฒนาจากชุดตัวอักษรแอราเมอิก[4][5][6] ก่อนผ่านทางอักษรปะห์ลาวีและชุดตัวอักษรซอกเดียของเปอร์เซีย[7][8]

ข้อมูลจีนสมัยใหม่มีหลักฐานขัดแย้งว่าชาวเติร์กในคริสต์ศตวรรษที่ 6 มีอักษรเขียนเป็นของตนเองหรือไม่ โดยหนังสือโจวในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ระบุว่าชาวเติร์กมีอักษรเขียนที่คล้ายกับของซอกเดีย ในขณะที่หนังสือสุยและประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ตอนเหนืออ้างว่าชาวเติร์กไม่มีอักษรเขียนเป็นของตนเอง[9] István Vásáry รายงานว่า อักษรเตอร์กิกเก่าถูกคิดค้นในสมัยข่านองค์แรกและได้รับการปรับปรุงตามแบบซอกเดีย[10] อักษรออร์ค็องรูปแบบอื่นเริ่มปรากฏเร็วสุดในช่วงครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 6[11]

ตารางอักษร

ตารางอักษรที่ตีพิมพ์โดย Thomsen (1893)

สระ

ออร์ค็อน แบบ
เยนิเซย์
ทับศัพท์ สัทอักษรสากล
ภาพ อักษร
𐰀 𐰁 𐰂 a, ä /ɑ/, /æ/
𐰃 𐰄 ı, i /ɯ/, /i/
𐰅 𐰅 e /e/
𐰆 𐰆 o, u /o/, /u/
𐰇 𐰈 ö, ü /ø/, /y/

พยัญชนะ

สระหลัง สระหน้า
ออร์ค็อน แบบ
เยนิเซย์
ทับศัพท์ สัทอักษรสากล ออร์ค็อน แบบ
เยนิเซย์
ทับศัพท์ สัทอักษรสากล
ภาพ อักษร ภาพ อักษร
𐰉 𐰊 /b/ 𐰋 𐰌 /b/
𐰑 𐰒 /d/ 𐰓 /d/
𐰍 𐰎 /ɣ/ 𐰏 𐰐 /ɡ/
𐰞 𐰟 /l/ 𐰠 /l/
𐰣 /n/ 𐰤 𐰥 /n/
𐰺 𐰻 /r/ 𐰼 /r/
𐰽 /s/ 𐰾 /s/
𐱃 𐱄 /t/ 𐱅 𐱆 /t/
𐰖 𐰗 /j/ 𐰘 𐰙 /j/
𐰴 𐰵 q /q/ 𐰚 𐰛 k /k/
𐰸 𐰹 oq, uq, qo, qu, q /oq/, /uq/, /qo/, /qu/, /q/ 𐰜 𐰝 ök, ük, kö, kü, k /øk/, /yk/, /kø/, /ky/, /k/
สัญลักษณ์พยัญชนะอื่น ๆ
ออร์ค็อน แบบ
เยนิเซย์
ทับศัพท์ สัทอักษรสากล
ภาพ อักษร
𐰲 𐰳 č /tʃ/
𐰢 m /m/
𐰯 p /p/
𐱁 𐱀 𐱂[12] š /ʃ/
𐰔 𐰕 z /z/
𐰭 𐰮 𐰬 ñ /ŋ/
𐰱 ič, či, č /itʃ/, /tʃi/, /tʃ/
𐰶 𐰷 ıq, qı, q /ɯq/, /qɯ/, /q/
𐰨 𐰩 -nč /ntʃ/
𐰪 𐰫 -nj /ɲ/
𐰡 -lt /lt/, /ld/
𐰦 𐰧 -nt /nt/, /nd/
𐰿 /aʃ/
𐱇 ot, ut[13] /ot/, /ut/
𐱈 baš[14] /baʃ/

บางครั้งสัญลักษณ์คล้ายทวิภาค () ถูกใช้เป็นตัวแยกคำ[15] ในบางกรณีจะใช้รูปวง () แทน[15]

ตัวอย่างการอ่านคำ (ขวาไปซ้าย): 𐱅𐰭𐰼𐰃 ( ) ทับศัพท์เป็น t²ñr²i แปลว่า Täñri (/tæŋri/) พระนามเทพแห่งท้องฟ้าของชนเตอร์กิก

อ้างอิง

  1. Scharlipp, Wolfgang (2000). An Introduction to the Old Turkish Runic Inscriptions. Verlag auf dem Ruffel, Engelschoff. ISBN 978-3-933847-00-3.
  2. Sinor, Denis (2002). "Old Turkic". History of Civilizations of Central Asia. Vol. 4. Paris: UNESCO. pp. 331–333.
  3. Vilhelm Thomsen, [Turkic] Orkhon Inscriptions Deciphered (Helsinki : Society of Finnish Literature Press, 1893). Translated in French and later English (Ann Arbor MI: University Microfilms Intl., 1971). OCLC 7413840
  4. Cooper, J.S. (2004). "Babylonian beginnings: The origin of the cuneiform writing system in comparative perspective". ใน Houston, Stephen (บ.ก.). The First Writing: Script Invention as History and Process. Cambridge University Press. pp. 58–59.
  5. Mabry, Tristan James (2015). Nationalism, Language, and Muslim Exceptionalism. University of Pennsylvania Press. p. 109. ISBN 978-0-8122-4691-9.
  6. Kara, György (1996). "Aramaic scripts for Altaic languages". ใน Daniels, Peter; Bright, William (บ.ก.). The World's Writing Systems. New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-507993-7.
  7. Turks, A. Samoylovitch, First Encyclopaedia of Islam: 1913-1936, Vol. VI, (Brill, 1993), 911.
  8. Campbell, George; Moseley, Christopher (2013). The Routledge Handbook of Scripts and Alphabets. Routledge. p. 40. ISBN 978-1-135-22296-3.
  9. Lung 龍, Rachel 惠珠 (2011). Interpreters in Early Imperial China. John Benjamins Publishing. pp. 54–55. ISBN 978-90-272-2444-6.
  10. Mouton, 2002, Archivum Ottomanicum, p. 49
  11. Sigfried J. de Laet, Joachim Herrmann, (1996), History of Humanity: From the seventh century B.C. to the seventh century A.D., p. 478
  12. According to Gabain (1941)
  13. According to Gabain (1941), not listed in Thomsen (1893)
  14. According to Tekin (1968); not listed in Thomsen (1893) or Gabain (1941) [โปรดขยายความ]; Malov (1951) lists the sign but gives no sound value.
  15. 15.0 15.1 "The Unicode Standard, Chapter 14.8: Old Turkic" (PDF). Unicode Consortium. March 2020.

ข้อมูล

  • Diringer, David. The Alphabet: a Key to the History of Mankind, New York, NY: Philosophical Library, 1948, pp. 313–315.
  • Erdal, Marcel. 2004. A grammar of Old Turkic. Leiden & Boston: Brill.
  • LFaulmann, Carl. 1990 (1880). Das Buch der Schrift. Frankfurt am Main: Eichborn. ISBN 3-8218-1720-8 (ในภาษาเยอรมัน)
  • Février, James G. Histoire de l'écriture, Paris: Payot, 1948, pp. 311–317 (ในภาษาฝรั่งเศส)
  • Ishjatms, N. "Nomads in Eastern Central Asia", in the "History of civilizations of Central Asia", Volume 2, UNESCO Publishing, 1996, ISBN 92-3-102846-4
  • Jensen, Hans (1970). Sign Symbol and Script. London: George Allen and Unwin Ltd. ISBN 0-04-400021-9.
  • Kyzlasov, I.L. "Runic Scripts of Eurasian Steppes", Moscow, Eastern Literature, 1994, ISBN 5-02-017741-5
  • Malov, S.E. 1951, Pamjatniki Drevnitjurkskoj Pisʹmennosti (Памятники Древнитюркской Письменности), Moskva & Leningrad. (ในภาษารัสเซีย)
  • Muxamadiev, Azgar. (1995). Turanian Writing (Туранская Письменность). In Zakiev, M. Z.(Ed.), Problemy lingvoėtnoistorii tatarskogo naroda (Проблемы лингвоэтноистории татарского народа). Kazan: Akademija Nauk Tatarstana. (ในภาษารัสเซีย)
  • Róna-Tas, A. 1991. An introduction to Turkology. Szeged.
  • Tekin, Talat. A Grammar of Orkhon Turkic. Indiana University Uralic and Altaic Series, vol. 69 (Bloomington/The Hague: Mouton, 1968)
  • Thomsen, Vilhelm. Inscriptions de l'Orkhon déchiffrées, Suomalais-ugrilainen seura, Helsinki Toimituksia, no. 5 Helsingfors: La société de littérature Finnoise [1] (ในภาษาฝรั่งเศส)
  • Vasilʹiev, D.D. Korpus tjurkskix runičeskix pamjatnikov Bassina Eniseja [Corpus of the Turkic Runic Monuments of the Yenisei Basin], Leningrad: USSR Academy of Science, 1983 (ในภาษารัสเซีย)
  • von Gabain, A. 1941. Alttürkische Grammatik mit Bibliographie, Lesestücken und Wörterverzeichnis, auch Neutürkisch. Mit vier Schrifttafeln und sieben Schriftproben. (Porta Linguarum Orientalium; 23) Leipzig: Otto Harrassowitz. (ในภาษาเยอรมัน)

แหล่งข้อมูลอื่น